สงครามรัสเซีย–ยูเครน
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
สงครามรัสเซีย–ยูเครน | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
สถานการณ์ทางทหาร ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2024 ควบคุมโดยยูเครน ควบคุมโดยรัสเซียและกองทัพที่สนับสนุนรัสเซีย | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สนับสนุนอาวุธ: คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซีย: รายการ | เบลารุส[c] | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
|
เบลารุส | ||||||
กำลัง | |||||||
รายละเอียดเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องในประเด็นสำคัญของสงคราม:
| |||||||
ความสูญเสีย | |||||||
สงครามรัสเซีย–ยูเครน[40][e] (ยูเครน: російсько-українська війна, อักษรโรมัน: rosiisko-ukrainska viina) เป็นสงครามต่อเนื่องระหว่างรัสเซีย (พร้อมกับกองกำลังแบ่งแยกดินแดนที่สนับสนุนรัสเซีย) และยูเครน[f] มันถูกเริ่มต้นขึ้นโดยรัสเซียในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014 ภายหลังจากการปฏิวัติแห่งศักดิ์ศรีของยูเครน และจุดสำคัญในช่วงแรกไปที่สถานะของไครเมียและดอนบัส ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากลว่าเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน แปดปีแรกของความขัดแย้งครั้งนี้ รวมไปถึงรัสเซียได้ผนวกรวมแหลมไครเมีย (ค.ศ. 2014) และสงครามในดอนบัส (ค.ศ. 2014–ปัจจุบัน) ระหว่างยูเครนและฝ่ายแบ่งแยกดินแดนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซีย ตลอดจนถึงอุบัติการณ์ทางเรือ สงครามไซเบอร์ และความตึงเครียดทางการเมือง ตามมาด้วยการรวมตัวกันของกองทัพรัสเซียบนบริเวณชายแดนรัสเซีย-ยูเครน ตั้งแต่ช่วงปลายปี ค.ศ. 2021 ความขัดแย้งครั้งนี้ได้ขยายออกไปอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อรัสเซียเปิดฉากการรุกรานยูเครนอย่างเต็มรูปแบบ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022
ภายหลังจากการประท้วงของยูโรไมดานและการปฏิวัติได้ส่งผลทำให้ถอดถอนประธานาธิบดี วิกตอร์ ยานูกอวึช ที่สนับสนุนรัสเซียในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014 มีการก่อความไม่สงบของฝ่ายที่สนับสนุนรัสเซียได้ปะทุขึ้นในบางส่วนของยูเครน ทหารรัสเซียที่ไม่มีเครื่องยศได้เข้าควบคุมตำแหน่งทางยุทธศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานในดินแดนไครเมียของยูเครนและเข้ายึดรัฐสภาไครเมีย รัสเซียจัดให้มีการลงประชามติที่มีการโต้เถียงกัน ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาคือ ไครเมียจะต้องถูกเข้าร่วมกับรัสเซีย สิ่งนี้นำไปสู่การผนวกไครเมีย ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2014 การเดินขบวนของกลุ่มที่สนับสนุนรัสเซียในดอนบัสได้ก่อให้เกิดบานปลายจนกลายเป็นสงครามระหว่างกองทัพยูเครนและกองกำลังฝ่ายแบ่งแยกดินแดนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียของสาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์และสาธารณรัฐประชาชนลูฮันสก์ซึ่งประกาศตนเป็นอิสระ
ยานพาหนะทางทหารของรัสเซียที่ไม่เครื่องหมายได้ก้าวข้ามชายแดน[41] สู่สาธารณรัฐดอแนตส์ สงครามโดยไม่ได้มีการประกาศได้เริ่มขึ้นระหว่างกองกำลังยูเครนในฝ่ายหนึ่งและฝ่ายแบ่งแยกดินแดนที่ได้ผสมปนเปกับทหารรัสเซียในอีกฝ่ายหนึ่ง แม้ว่ารัสเซียจะพยายามหลบซ่อนในการมีส่วนร่วม สงครามได้จบลงด้วยความขัดแย้งคงที่ กับความพยายามในการเรียกร้องให้มีการหยุดยิงซึ่งประสบความล้มเหลวซ้ำแล้วซ้ำเล่า ใน ค.ศ. 2015 รัสเซียและยูเครนได้ลงนามในข้อตกลงมินสค์ 2 แต่มีข้อพิพาทหลายประการที่คอยขัดขวางจนไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างเต็มที่ ใน ค.ศ. 2019 ประมาณ 7% ของยูเครนถูกจัดประเภทโดยรัฐบาลยูเครนว่าเป็นดินแดนที่ถูกยึดครองเป็นการชั่วคราว
ใน ค.ศ. 2021 และต้นปี ค.ศ. 2022 มีการรวมตัวกันของกองทัพรัสเซียครั้งใหญ่บริเวณรอบชายแดนยูเครน เนโทได้กล่าวหาว่ารัสเซียทำการวางแผนในการรุกรานซึ่งได้ให้การปฏิเสธ วลาดีมีร์ ปูติน ประธานาธิบดีแห่งรัสเซียได้วิจารณ์ว่า การขยายตัวของเนโทเป็นภัยคุกคามต่อประเทศของเขา และต้องการห้ามเพื่อไม่ให้ยูเครนเข้าร่วมเป็นพันธมิตรทางทหารมาโดยตลอด นอกจากนี้ เขายังได้แสดงมุมมองของลัทธิการทวงดินแดนกลับคืนมา(irredentist) ได้ตั้งคำถามถึงสิทธิในการดำรงอยู่ของยูเครน และได้บอกกล่าวที่เป็นเท็จว่ายูเครนถูกก่อตั้งขึ้นโดยวลาดีมีร์ เลนิน[42] เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 รัสเซียได้ให้การรับรองอย่างเป็นทางการแก่ทั้งสองรัฐฝ่ายแบ่งแยกดินแดนซึ่งประกาศตนเป็นอิสระในดอนบัส และส่งกองกำลังทหารเข้าไปในดินแดนอย่างเปิดเผย สามวันต่อมา รัสเซียเข้ารุกรานยูเครน ประชาคมระหว่างประเทศส่วนใหญ่ได้กล่าวประณามรัสเซียอย่างหนักสำหรับการกระทำของตนในยูเครน โดยกล่าวหาว่าได้ทำการละเมิดกฏหมายระหว่างประเทศและรุกล้ำอธิปไตยของยูเครนอย่างร้ายแรง หลายประเทศได้ดำเนินการในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซีย บุคคลหรือบริษัทที่มาจากรัสเซีย[43] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภายหลังการรุกราน ค.ศ. 2022
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ สาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์ เป็นรัฐสนับสนุนการแบ่งแยกที่ประกาศอิสรภาพในเดือนพฤษภาคม 2557 ขณะเดียวกันก็ได้รับการรับรองจากหน่วยการเมืองคล้ายรัฐ (quasi-state) ที่ได้รับการยอมรับเพียงบางประเทศข้างเคียง ได้แก่ รัฐโดยพฤตินัยเซาท์ออสซีเชีย และรัสเซีย (ตั้งแต่ 2565)[23]
- ↑ สาธารณรัฐประชาชนลูฮันสก์ เป็นรัฐสนับสนุนการแบ่งแยกที่ประกาศอิสรภาพในเดือนพฤษภาคม 2557 ขณะเดียวกันก็ได้รับการรับรองจากหน่วยการเมืองคล้ายรัฐ (quasi-state) ที่ได้รับการยอมรับเพียงบางประเทศข้างเคียง ได้แก่ รัฐโดยพฤตินัยเซาท์ออสซีเชีย และรัสเซีย (ตั้งแต่ 2565)[24][25]
- ↑ เบลารุสยอมให้กองทัพรัสเซียเคลื่อนทัพผ่านดินแดนของตนเพื่อไปรุกรานยูเครน[26]
- ↑ รวมทหารรัสเซีย 400–500 นาย (กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ, มีนาคม ค.ศ. 2015)[39]
- ↑ รัสเซีย: pоссийско-украинская война, อักษรโรมัน: rossiysko-ukrainskaya voyna; ยูเครน: російсько-українська війна, อักษรโรมัน: rosiisko-ukrainska viina.
- ↑ Many countries have provided various levels of support to Ukraine short of becoming belligerents in the war, while Belarus has provided Russian forces territorial access for the 2022 invasion.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Russia's military aggression against Ukraine: EU imposes sanctions against President Putin and Foreign Minister Lavrov and adopts wide ranging individual and economic sanctions". consilium.europa.eu. 28 February 2022.
- ↑ Sinoruka, Fjori (28 February 2022). "Albania Unveils Sanctions on Russia Over Attack on Ukraine". BalkanInsight. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
- ↑ "Australian sanctions on Russia: who do they target and will they have an impact?". theguardian.com. 24 February 2022.
- ↑ "Canada announces new sanctions against Russia. This is what they're targeting". ctvnews.ca. 24 February 2022.
- ↑ "Iceland to Take Part in Sanctions Against Russia, Ministers Say". Iceland Review. 24 February 2022.
- ↑ "Japan announces more sanctions on Russia after Ukraine invasion". japantimes.co.jp. 25 February 2022.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Sulaj, Agim (25 February 2022). "Kosova i vendos sanksione Rusisë" [Kosovo imposes sanctions on Russia] (ภาษาแอลเบเนีย). Anadolu Agency. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
- ↑ "Liechtenstein issues sanctions against Putin". europe-cities.com. 1 March 2022.
- ↑ "Monaco clamps down on Russian assets after Ukraine invasion". Reuters. 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
- ↑ "New Zealand announces bans on Russia in response to Ukraine invasion". rnz.co.nz. 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022.
- ↑ "Од 17-тата седница на Владата: Северна Македонија се придружува кон ЕУ со санкциите кон Руската Федерација" [From the 17th session of the Government: North Macedonia joins the EU with sanctions against the Russian Federation] (ภาษามาซิโดเนีย). Government of North Macedonia. 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Norway Decides to Drop Russia From $1.3 Trillion Wealth Fund". Bloomberg. 28 February 2022.
- ↑ "Singapore to impose sanctions on Russia, including export controls and certain bank transactions: Vivian Balakrishnan". CNA. 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "South Korea to join economic sanctions against Russia". channelnewsasia.com. 24 February 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-25. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022.
- ↑ "Neutral Swiss poised to freeze Russian assets - president". Reuters. 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Pei-ju, Teng (25 February 2022). "Taiwan to join international sanctions against Russia". focustaiwan.tw. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022.
- ↑ "PM Johnson unveils UK's largest-ever sanctions against Russia". reuters.com. 24 February 2022.
- ↑ "Joined by Allies and Partners, the United States Imposes Devastating Costs on Russia". whitehouse.gov. 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022.
- ↑ "EU to mobilize cyber team to help Ukraine fight Russian cyberattacks". politico.eu. 21 February 2022.
- ↑ "Australia promises cyber support to Ukraine as Russian forces array along its borders". abc.net.au. 20 February 2022.
- ↑ "Canada providing cyber 'support' to Ukraine against Russian invasion. Here's what we know". globalnews.ca. 24 February 2022.
- ↑ "The U.S. is Working to Improve Ukraine's Cyber Defenses in the Face of Russian Threat". nextgov.com. 1 February 2022.
- ↑ "South Ossetia recognises independence of Donetsk People's Republic". Information Telegraph Agency of Russia. 27 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-17. สืบค้นเมื่อ 31 January 2022.
- ↑ Alec, Luhn (6 November 2014). "Ukraine's rebel 'people's republics' begin work of building new states". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). Donetsk. สืบค้นเมื่อ 31 January 2022.
The two 'people's republics' carved out over the past seven months by pro-Russia rebels have not been recognised by any countries, and a rushed vote to elect governments for them on Sunday was declared illegal by Kiev, Washington and Brussels.
- ↑ "Общая информация" [General Information]. Official site of the head of the Lugansk People's Republic (ภาษารัสเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2018. สืบค้นเมื่อ 11 March 2018.
11 июня 2014 года Луганская Народная Республика обратилась к Российской Федерации, а также к 14 другим государствам, с просьбой о признании её независимости. К настоящему моменту независимость республики признана провозглашенной Донецкой Народной Республикой и частично признанным государством Южная Осетия. [Translated: On June 11, 2014, the Luhansk People's Republic turned to the Russian Federation, as well as to 14 other states, with a request to recognize its independence. To date, the republic's independence has been recognized by the proclaimed Donetsk People's Republic and the partially recognized state of South Ossetia.]
- ↑ Lister, Tim; Kesa, Julia (24 February 2022). "Ukraine says it was attacked through Russian, Belarus and Crimea borders". CNN. Kyiv. Archived from the original on 24 February 2022. Retrieved 24 February 2022.
- ↑ https://www.nytimes.com/interactive/2022/world/europe/ukraine-maps.html
- ↑ "Russian Lieutenant General Alexander Lentsov leading Russian groups in Debaltseve". YouTube, LifeNews. 18 February 2015. สืบค้นเมื่อ 18 February 2015.
- ↑ Книга пам'яті загиблих [Memorial Book to the Fallen]. Herman Shapovalenko, Yevhen Vorokh, Yuriy Hirchenko (ภาษายูเครน). สืบค้นเมื่อ 31 January 2015.
- ↑ "Книга пам'яті загиблих". memorybook.org.ua. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.
- ↑ 31.0 31.1 31.2 "ООН підрахувала кількість жертв бойових дій на Донбасі". Radio Liberty. 19 February 2021. สืบค้นเมื่อ 19 February 2021.
- ↑ "UNIAN: 70 missing soldiers officially reported over years of war in Donbas". Ukrainian Independent Information Agency. 6 September 2019. สืบค้นเมื่อ 6 September 2019.
- ↑ "Militants held in captivity 180 Ukrainian servicemen". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015.
- ↑ Isaac Webb (22 April 2015). "An Eye for an Eye: Ukraine's POW Problem". The Moscow Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2015. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
- ↑ "Donbas rebels still hold 300 Ukraine army servicemen and civilians prisoners". zik.ua. 2 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-26. สืบค้นเมื่อ 2022-03-02.
- ↑ Pike, John. "Ukrainian Military Personnel". www.globalsecurity.org.
- ↑ "В жертву "Оплотам": Почему тормозит модернизация Т-64". www.depo.ua.
- ↑ "The overview of the current social and humanitarian situation in the territory of the Donetsk People's Republic as a result of hostilities between 23 and 29 January 2021". Human rights Ombudsman in the Donetsk People's Republic. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.
- ↑ Bellal, Annyssa (2016). The War Report: Armed Conflict in 2014. Oxford University Press. p. 302. ISBN 978-0-19-876606-3. สืบค้นเมื่อ 17 October 2016.
- ↑ Snyder, Timothy (2018). The Road to Unfreedom: Russia, Europe, America. New York: Tim Duggan Books. p. 197. ISBN 978-0-525-57447-7.
Almost everyone lost the Russo-Ukrainian war: Russia, Ukraine, the EU, the United States. The only winner was China.
; Mulford, Joshua P. (2016). "Non-State Actors in the Russo-Ukrainian War". Connections. 15 (2): 89–107. doi:10.11610/Connections.15.2.07. ISSN 1812-1098. JSTOR 26326442.; Shevko, Demian; Khrul, Kristina (2017). "Why the Conflict Between Russia and Ukraine Is a Hybrid Aggression Against the West and Nothing Else". ใน Gutsul, Nazarii; Khrul, Kristina (บ.ก.). Multicultural Societies and their Threats: Real, Hybrid and Media Wars in Eastern and South-Eastern Europe. Zürich: LIT Verlag Münster. p. 100. ISBN 978-3-643-90825-4. - ↑ Aid convoy stops short of border as Russian military vehicles enter Ukraine: Armoured personnel carriers and support vehicles cross the border, while the 280-truck convoy comes to a halt separately, Shaun Walker, The Guardian, 15 August 2014
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อPutin Ukraine statehood
- ↑ Overland, Indra; Fjaertoft, Daniel (2015). "Financial Sanctions Impact Russian Oil, Equipment Export Ban's Effects Limited". Oil and Gas Journal. 113 (8): 66–72.