ข้ามไปเนื้อหา

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย

รายการ
ธงชาติสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย
ธง
ตราสัญลักษณ์ของสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย
ตราสัญลักษณ์
  สมาชิก
  ดินแดนที่เป็นกรณีพิพาท[1]
ศูนย์กลางบริหาร
เมืองใหญ่สุดมอสโก
55°45′N 37°37′E / 55.750°N 37.617°E / 55.750; 37.617
ภาษาราชการรัสเซีย (ภาษาทำงาน)
ประเภทสหภาพเศรษฐกิจ
ชาติสมาชิกสมาชิก:
 คาซัคสถาน
 คีร์กีซสถาน
 เบลารุส
 รัสเซีย
 อาร์มีเนีย

ผู้สังเกตการณ์:
 คิวบา
 มอลโดวา
 อุซเบกิสถาน
ผู้นำ
คีร์กีซสถาน Sadyr Zhaparov[2]
เบลารุส Mikhail Myasnikovich
ก่อตั้ง
• ข้อเสนอดั้งเดิมa
พ.ศ. 2537
10 ตุลาคม พ.ศ. 2543
1 มกราคม พ.ศ. 2553
• ข้อตกลงจัดตั้งสหภาพฯ
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
1 มกราคม พ.ศ. 2555
• ลงนามในสนธิสัญญาสหภาพฯ
29 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
• สถาปนาสหภาพฯ
1 มกราคม พ.ศ. 2558
พื้นที่
• รวม
20,229,248[3] ตารางกิโลเมตร (7,810,556 ตารางไมล์)
ประชากร
• พ.ศ. 2563 ประมาณ
เพิ่มขึ้น 184,579,000[4]
9.12 ต่อตารางกิโลเมตร (23.6 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) พ.ศ. 2565 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 5.1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[4]
27,757 ดอลลาร์สหรัฐ
จีดีพี (ราคาตลาด) พ.ศ. 2565 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[4]
10,400 ดอลลาร์สหรัฐ
สกุลเงินเท็งเก
ซอมคีร์กีซสถาน
รูเบิลเบลารุส
รูเบิลรัสเซีย
ดรัมอาร์มีเนีย
เขตเวลาUTC+2 ถึง +12
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์
4 รหัส
โดเมนบนสุด
5 โดเมน
เว็บไซต์
EAEUnion.org
  1. โดยนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ ประธานาธิบดีคาซัคสถาน

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย (อังกฤษ: Eurasian Economic Union; รัสเซีย: Евразийский Экономический Союз) หรือ สหภาพยูเรเชีย (อังกฤษ: Eurasian Union; รัสเซีย: Евразийский Союз) เป็นสหภาพเศรษฐกิจ จัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2557 และมีผลในวันที่ 1 มกราคม 2558 [5] [5] โดยในปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 5 ประเทศ ได้แก่ เบลารุส คาซัคสถาน คีร์กีซสถาน อาร์มีเนีย และรัสเซีย ซึ่งสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชียนี้ได้สร้างตลาดเศรษฐกิจเดียวที่มีขนาดประชากรกว่า 180 ล้านคน และผลิตภัณฑ์มวลรวม 2.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[5] ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถานยังแสดงความสนใจเข้าร่วมองค์การด้วย[6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Taylor & Francis (2020). "Republic of Crimea". The Territories of the Russian Federation 2020. Routledge. ISBN 978-1-003-00706-7. Note: The territories of the Crimean peninsula, comprising Sevastopol City and the Republic of Crimea, remained internationally recognised as constituting part of Ukraine, following their annexation by Russia in March 2014.
  2. "Kyrgyzstan has taken over the presidency in the EAEU".
  3. 3.0 3.1 "Countries by Area". Nations Online Project. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Report for Selected Countries and Subjects: October 2020". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 26 October 2020.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Russia, Kazakhstan, Belarus Sign Treaty Creating Huge Economic Bloc". Time.com.
  6. "Astana gears up for Eurasian Economic Union". 2014-05-23. สืบค้นเมื่อ 2014-05-27.
  7. http://www.voanews.com/a/russia-belarus-kazakhstan-agree-to-create-economic-union/1924941.html