ข้ามไปเนื้อหา

ยุทธการที่ปารีส (ค.ศ. 1814)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่ปารีส
ส่วนหนึ่งของ สงครามสหสัมพันธมิตรครั้งที่หก

การป้องกันเขตกลิชีระหว่างยุทธการที่ปารีส
วันที่30–31 มีนาคม ค.ศ. 1814[1]
สถานที่48°51′24″N 2°21′06″E / 48.8566°N 2.3518°E / 48.8566; 2.3518
ผล

ฝ่ายสหสัมพันธมิตรชนะ

ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
วาดเขตแดนยุโรปใหม่หลังช่วงสนธิสัญญาปารีสแรกถึงช่วงต้นของการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา
คู่สงคราม
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง ฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรีย ออสเตรีย
ราชอาณาจักรปรัสเซีย ปรัสเซีย
รัสเซีย รัสเซีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง โอกุสต์ เดอ มาร์มง  Surrendered
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง Bon-Adrien Jeannot de Moncey
จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง เอดัวร์ มอร์ตีแยร์
จักรวรรดิรัสเซีย อเล็กซานเดอร์ที่ 1
จักรวรรดิออสเตรีย คาร์ล ฟ็อน ชวาร์ทเซินแบร์ค
จักรวรรดิรัสเซีย Barclay de Tolly
ราชอาณาจักรปรัสเซีย ฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3
ราชอาณาจักรปรัสเซีย เก็พฮาร์ท ฟ็อน บลึชเชอร์
จักรวรรดิรัสเซีย Louis Alexandre Langeron
จักรวรรดิออสเตรีย Ignaz Giulay
กำลัง
29,000-42,000 นาย[1] รัสเซีย:
100,000 นาย
ออสเตรีย:
15,000 นาย
ปรัสเซีย:
40,000 นาย
รวม:
100,000[1]-155,000 นาย
ความสูญเสีย
ถูกฆ่า บาดเจ็บ หรือถูกจับ 5,000-9,300 นาย[1] ถูกฆ่า บาดเจ็บ หรือถูกจับ 9,000[1]-18,000 นาย

ยุทธการที่ปารีส (ฝรั่งเศส: Bataille de Paris) สู้รบเมื่อวันที่ 30 – 31 มีนาคม ค.ศ. 1814 ระหว่างประสานมิตรที่หกอันประกอบด้วยรัสเซีย ออสเตรียและปรัสเซีย กับจักรวรรดิฝรั่งเศส หลังการสู้รบในชานกรุงปารีสนานหนึ่งวัน ฝรั่งเศสขอยอมจำนนเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ซึ่งยุติสงครามประสานมิตรครั้งที่หก และได้บังคับให้จักรพรรดินโปเลียนสละราชสมบัติและถูกเนรเทศ

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Bodart 1908, p. 480.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Bodart, Gaston (1908). Militär-historisches Kriegs-Lexikon (1618-1905). สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
  • Merriman, John (1996). A History of Modern Europe. W. W. Norton. p. 579. ISBN 0-393-96888-X.
  • Mikhailofsky-Danilefsky, A. (1839). History of the Campaign in France (วิทยานิพนธ์). London: Smith, Elder, and Co. Cornhill.