ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤคเวท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 1.47.13.4 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 2001:FB1:26:C5A4:19B4:417:853B:AED7
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| Name = ฤคเวท
| Name = ฤคเวท
| Image = [[ไฟล์:Rigveda_MS2097.jpg|270px]]
| Image = [[ไฟล์:Rigveda_MS2097.jpg|270px]]
| Caption = ต้นฉบับฤคเวท[[ภาษาสันสกฤต]teuy]ฉบับพระศรีอริยเมตไตรย์หนึ่ง<br/>จัดทำขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19
| Caption = ต้นฉบับฤคเวท[[ภาษาสันสกฤต]]ฉบับหนึ่ง<br/>จัดทำขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19
| Custodian = สถาบันวิจัยบูรพคดีภางฑารกร
| Custodian = สถาบันวิจัยบูรพคดีภางฑารกร
| State Party = {{flagcountry|อินเดีย}}
| State Party = 🍒Herbert pร รรร{{flagcountry|อินเดียฮินด฿ฮินดี,เยรมันซ้ายสหรัฐขวาสามเส้นที่ตาขวาเนปาลจีนสเปนซีอาหรั่งหย๋ามู๋,single1 d/b1 ไทย}
| Region = เอเชียและแปซิฟิก
| Region = เอเชียและแปซิฟิก
| ID = 2006-58
| ID = 2006-58
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| Year = 2550
| Year = 2550
}}
}}
'''ฤคเวท''' ({{lang-sa|ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda}}) เป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงทำนองในการสวดไว้อย่างตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะ และประวัติการสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และสรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่าง ๆ ของชาวอารยัน ตามประเพณีของฮินดูแล้ว การแบ่งหมวดหมู่ของคัมภีร์พระเวทนี้ วยาส (ผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ) เป็นผู้ทำขึ้นโดยรับคำสั่งจากพระพรหมณ์ การจัดรวบรวมบทสวดในคัมภีร์ฤคเวทนี้ เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ทั้งสี่ของ[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] ซึ่งเรียกรวมกันว่า "พระเวท" และนับเป็นบทสวดที่เก่าแก่ที่สุดของสังคลายกวนอู E101,พ.ศ110 ,14444 14455,15544,16000 E2538,24455 25544,อะ อิ งะ งุ มนุษยชาติ วินิสติเนื้อหาด้าน[[ชาติพันธุพุพธ🍊🍏🍉🍇🌈ส้มแดงน้ำเงินขาวเหลืองเขียวน้ำฝนหายหมดรุ้งทิพย์อัคนินอกอนอกาฮูกวิทยา]]และ[[ภูมิศาสตร์]]ที่ปรากฏในฤคเวทนั้น เป็นหลักฐานแสดงว่าฤคเวทนั้นมีมานานกว่า 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช
'''ฤคเวท''' ({{lang-sa|ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda}}) เป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงทำนองในการสวดไว้อย่างตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะ และประวัติการสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และสรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่าง ๆ ของชาวอารยัน ตามประเพณีของฮินดูแล้ว การแบ่งหมวดหมู่ของคัมภีร์พระเวทนี้ วยาส (ผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ) เป็นผู้ทำขึ้นโดยรับคำสั่งจากพระพรหมณ์ การจัดรวบรวมบทสวดในคัมภีร์ฤคเวทนี้ เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ทั้งสี่ของ[[ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู]] ซึ่งเรียกรวมกันว่า "พระเวท" และนับเป็นบทสวดที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ เนื้อหาด้าน[[ชาติพันธุวิทยา]]และ[[ภูมิศาสตร์]]ที่ปรากฏในฤคเวทนั้น เป็นหลักฐานแสดงว่าฤคเวทนั้นมีมานานกว่า 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช


== เนื้อหา ==
== เนื้อหา ==
คัมภีร์ฤคเวท มักแบ่งเนื้อหาเป็น 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 คือ แบ่งเป็นมัณฑละ มีด้วยกันทั้งหมด 10 มัณฑละ หรือมณฑล แต่ละมณฑลประกอบด้วยบทสวด หรือสูกตะต่างๆ แต่ละมัณฑละมีจำนวนสูกตะไม่เท่ากัน ตั้งแต่ประมาณ 50 ถึง 200 สูกตะ ในแต่ละสูกตะประกอบด้วยคาถาหรือมันตระจำนวนมากน้อยต่างกันไป นอกจากนี้อาจแบ่งฤคเวทในลักษณะที่ 2 เป็นอัษฎก โดยแบ่งได้เป็น 8 อัษฏก แต่ละอัษฏกประกอบด้วยมันตระ แต่ละมันตระประกอบด้วยวรรค แต่ละวรรคประกอบด้วยฤจะ (หรือคำ) แต่ละฤจนับแยกเป็นอักษระ (หรือ ตัวอักษร) อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปนิยมแบ่งเป็นมัณฑละ โดยมีรายละเอียดดังนี้
คัมภีร์ฤคเวท มักแบ่งเนื้อหาเป็น 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 คือ แบ่งเป็นมัณฑละ มีด้วยกันทั้งหมด 10 มัณฑละ หรือมณฑล แต่ละมณฑลประกอบด้วยบทสวด หรือสูกตะต่างๆ แต่ละมัณฑละมีจำนวนสูกตะไม่เท่ากัน ตั้งแต่ประมาณ 50 ถึง 200 สูกตะ ในแต่ละสูกตะประกอบด้วยคาถาหรือมันตระจำนวนมากน้อยต่างกันไป นอกจากนี้อาจแบ่งฤคเวทในลักษณะที่ 2 เป็นอัษฎก โดยแบ่งได้เป็น 8 อัษฏก แต่ละอัษฏกประกอบด้วยมันตระ แต่ละมันตระประกอบด้วยวรรค แต่ละวรรคประกอบด้วยฤจะ (หรือคำ) แต่ละฤจนับแยกเป็นอักษระ (หรือ ตัวอักษร) อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปนิยมแบ่งเป็นมัณฑละ โดยมีรายละเอียดดังนี้


* มัณฑละที่ 1 มีด้วยกัน 191 สูกตะ 2006 มันตระ เป็นบทสวดสรรเสริญ🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑พระอัคนิ พระอินทร์ พระวรุณ พระมิตร เหล่าพระอัศวิน เหล่าพระมรุต พระอุษัส (อุษา) พระสูรยะ, พระฤภุส, พระวายุ, พระพฤหัสบดี, พระวิษณุ, สวรรค์และโลก ยูเรนัสเนปจูนเสาร์ศุกร์พฤหัสบดีพุพธอังคารจันทร์ ลูกอม 21 ,89 (ในฐานะเทพบิดร) และวิศเวเทวา (ทวยเทพทั้งปวง)
* มัณฑละที่ 1 มีด้วยกัน 191 สูกตะ 2006 มันตระ เป็นบทสวดสรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ พระวรุณ พระมิตร เหล่าพระอัศวิน เหล่าพระมรุต พระอุษัส (อุษา) พระสูรยะ, พระฤภุส, พระวายุ, พระพฤหัสบดี, พระวิษณุ, สวรรค์และโลก (ในฐานะเทพบิดร) และวิศเวเทวา (ทวยเทพทั้งปวง)
* มัณฑละที่ 2🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 43 สูกตะ 492 มันตระ เนื้อหาส่วนใหญ่สรรเสริญพระอัคนิและพระอินทร์
* มัณฑละที่ 2 มีด้วยกัน 43 สูกตะ 492 มันตระ เนื้อหาส่วนใหญ่สรรเสริญพระอัคนิและพระอินทร์
* มัณฑละที่ 3 🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 62 สูกตะ 617 มันตระ ส่วนใหญ่เป็นบทสวดสรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา
* มัณฑละที่ 3 มีด้วยกัน 62 สูกตะ 617 มันตระ ส่วนใหญ่เป็นบทสวดสรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา
* มัณฑละที่ 4 🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 58 สูกตะ 589 มันตระ สรรเสริญเทพเจ้าหลายองค์ นอกจากพระอัคนิ พระอินทร์แล้ว ยังมีพระฤภุส, อัศวิน, พฤหัสบดี วายุ อุษา เป็นต้น
* มัณฑละที่ 4 มีด้วยกัน 58 สูกตะ 589 มันตระ สรรเสริญเทพเจ้าหลายองค์ นอกจากพระอัคนิ พระอินทร์แล้ว ยังมีพระฤภุส, อัศวิน, พฤหัสบดี วายุ อุษา เป็นต้น
* มัณฑละที่ 5 🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 87 สูกตะ 727 มันตระ สรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา รวมทั้งพระมรุต พระมิตร-วรุณ และเหล่าอัศวิน
* มัณฑละที่ 5 มีด้วยกัน 87 สูกตะ 727 มันตระ สรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา รวมทั้งพระมรุต พระมิตร-วรุณ และเหล่าอัศวิน
* มัณฑละที่ 6🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 75 สูกตะ 765 มันตระ ส่วนใหญ่สรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา
* มัณฑละที่ 6 มีด้วยกัน 75 สูกตะ 765 มันตระ ส่วนใหญ่สรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา
* มัณฑละที่ 8 🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 103 สูกตะ 1636 มันตระ สรรเสริญพรศรี
* มัณฑละที่ 8 มีด้วยกัน 103 สูกตะ 1636 มันตระ สรรเสริญพรศรี
* มัณฑละที่ 9 🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 114 สูกตะ 1108 มันตระ เนื้อหาทั้งหมดกล่าวถึงโสม ปวมาน หรือการทำพิธีด้วยน้ำโสม
* มัณฑละที่ 9 มีด้วยกัน 114 สูกตะ 1108 มันตระ เนื้อหาทั้งหมดกล่าวถึงโสม ปวมาน หรือการทำพิธีด้วยน้ำโสม
* มัณฑละที่ 10🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วยกัน 191 สูกตะ 1754 มันตระ นอกจากสรรเสริญเทพเจ้าแล้ว ยังเป็นบทสวดในพิธีสมรส หรืองานศพด้วย.
* มัณฑละที่ 10 มีด้วยกัน 191 สูกตะ 1754 มันตระ นอกจากสรรเสริญเทพเจ้าแล้ว ยังเป็นบทสวดในพิธีสมรส หรืองานศพด้วย.
* มัณฑละที่ 16 🍏🍉🍒🍎🍂🍍🍓🍑 มีด้วย ยูเรนัสเนปจูนเสาร์ศุกร์พฤหัสบดีพุพธอังคารจันทร์โลกหมุนวุวนอภิวาท วยาส อภิราส /2 กัน8.8. . 26 สูกตะ 23
เนื้อหาอักษรศาตร์ การอิทังเมย์ตา,เต กษิณไฟ ,เย็นเย็นทุกอวัยวะฮูกเจ็บปวดหมดกับบทบาทของเสียงสรรเสริญบรวงสรวงพุพธขอมพระมหากษัตริย์ทุกปางค์ทุกพระองค์พระราหูพระศรีวลีพระศรีวะพระหูลีพระศรีตัปปะพระโกฑัญญะสมเด็จฐพระพุฒธอาจารย์โตพระเถราพระเสนาประธานพระเสมาพระแม่ญากนางพระหลักเมืองสัมมาขมาแม ตัดกรรมตัดบ่วง3,4 มามาอะมามาอะม๊ะ เทวาสูงกว้าง เหล็กไหลน้ำพี้นุ่มนิ่มสีเงินหน้าอกมันสีทอง ลักษณะเหลว ขี้ตกใจ อัญมณี แบแบบู้แบหูลาความยาว2เมตร2เซ็นสีแดงมันจะวิ่งบนแขนมานุษย์ ตามด้วยสีน้ำเงินแล้วก็เว้นช่องห่าง สีแหลืองสีเขียวจิกจับจิกดมต้องขอปาริวาทพวกมนุษย์ก่อนอยู่ที่ค่าสายตาต้องพาเจ้าสำนักสีส้มมาถึงจะรู้เพราะเค้าห้ามโอ้อวด(288),(289)


การอ้างถึงฤคเวทนิยมใช้ตัวเลขระบุลำดับที่ของหมวดนั้นๆ เช่น 1.1.1 หมายถึง มัณฑละที่ 1 สูกตะที่ 1 มันตระที่ 1 เป็นต้น,
การอ้างถึงฤคเวทนิยมใช้ตัวเลขระบุลำดับที่ของหมวดนั้นๆ เช่น 1.1.1 หมายถึง มัณฑละที่ 1 สูกตะที่ 1 มันตระที่ 1 เป็นต้น,

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:26, 6 พฤศจิกายน 2564

ฤคเวท *
  ความทรงจำแห่งโลกโดยยูเนสโก
ต้นฉบับฤคเวทภาษาสันสกฤตฉบับหนึ่ง
จัดทำขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19
ที่เก็บรักษาสถาบันวิจัยบูรพคดีภางฑารกร
ประเทศ อินเดีย
ภูมิภาค **เอเชียและแปซิฟิก
อ้างอิง2006-58
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2550
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีความทรงจำแห่งโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

ฤคเวท (สันสกฤต: ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda) เป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงทำนองในการสวดไว้อย่างตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะ และประวัติการสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และสรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่าง ๆ ของชาวอารยัน ตามประเพณีของฮินดูแล้ว การแบ่งหมวดหมู่ของคัมภีร์พระเวทนี้ วยาส (ผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ) เป็นผู้ทำขึ้นโดยรับคำสั่งจากพระพรหมณ์ การจัดรวบรวมบทสวดในคัมภีร์ฤคเวทนี้ เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ทั้งสี่ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งเรียกรวมกันว่า "พระเวท" และนับเป็นบทสวดที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ เนื้อหาด้านชาติพันธุวิทยาและภูมิศาสตร์ที่ปรากฏในฤคเวทนั้น เป็นหลักฐานแสดงว่าฤคเวทนั้นมีมานานกว่า 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช

เนื้อหา

คัมภีร์ฤคเวท มักแบ่งเนื้อหาเป็น 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 คือ แบ่งเป็นมัณฑละ มีด้วยกันทั้งหมด 10 มัณฑละ หรือมณฑล แต่ละมณฑลประกอบด้วยบทสวด หรือสูกตะต่างๆ แต่ละมัณฑละมีจำนวนสูกตะไม่เท่ากัน ตั้งแต่ประมาณ 50 ถึง 200 สูกตะ ในแต่ละสูกตะประกอบด้วยคาถาหรือมันตระจำนวนมากน้อยต่างกันไป นอกจากนี้อาจแบ่งฤคเวทในลักษณะที่ 2 เป็นอัษฎก โดยแบ่งได้เป็น 8 อัษฏก แต่ละอัษฏกประกอบด้วยมันตระ แต่ละมันตระประกอบด้วยวรรค แต่ละวรรคประกอบด้วยฤจะ (หรือคำ) แต่ละฤจนับแยกเป็นอักษระ (หรือ ตัวอักษร) อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปนิยมแบ่งเป็นมัณฑละ โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • มัณฑละที่ 1 มีด้วยกัน 191 สูกตะ 2006 มันตระ เป็นบทสวดสรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ พระวรุณ พระมิตร เหล่าพระอัศวิน เหล่าพระมรุต พระอุษัส (อุษา) พระสูรยะ, พระฤภุส, พระวายุ, พระพฤหัสบดี, พระวิษณุ, สวรรค์และโลก (ในฐานะเทพบิดร) และวิศเวเทวา (ทวยเทพทั้งปวง)
  • มัณฑละที่ 2 มีด้วยกัน 43 สูกตะ 492 มันตระ เนื้อหาส่วนใหญ่สรรเสริญพระอัคนิและพระอินทร์
  • มัณฑละที่ 3 มีด้วยกัน 62 สูกตะ 617 มันตระ ส่วนใหญ่เป็นบทสวดสรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา
  • มัณฑละที่ 4 มีด้วยกัน 58 สูกตะ 589 มันตระ สรรเสริญเทพเจ้าหลายองค์ นอกจากพระอัคนิ พระอินทร์แล้ว ยังมีพระฤภุส, อัศวิน, พฤหัสบดี วายุ อุษา เป็นต้น
  • มัณฑละที่ 5 มีด้วยกัน 87 สูกตะ 727 มันตระ สรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา รวมทั้งพระมรุต พระมิตร-วรุณ และเหล่าอัศวิน
  • มัณฑละที่ 6 มีด้วยกัน 75 สูกตะ 765 มันตระ ส่วนใหญ่สรรเสริญพระอัคนิ พระอินทร์ และวิศเวเทวา
  • มัณฑละที่ 8 มีด้วยกัน 103 สูกตะ 1636 มันตระ สรรเสริญพรศรี
  • มัณฑละที่ 9 มีด้วยกัน 114 สูกตะ 1108 มันตระ เนื้อหาทั้งหมดกล่าวถึงโสม ปวมาน หรือการทำพิธีด้วยน้ำโสม
  • มัณฑละที่ 10 มีด้วยกัน 191 สูกตะ 1754 มันตระ นอกจากสรรเสริญเทพเจ้าแล้ว ยังเป็นบทสวดในพิธีสมรส หรืองานศพด้วย.

การอ้างถึงฤคเวทนิยมใช้ตัวเลขระบุลำดับที่ของหมวดนั้นๆ เช่น 1.1.1 หมายถึง มัณฑละที่ 1 สูกตะที่ 1 มันตระที่ 1 เป็นต้น,

อ้างอิง