ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
[[หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:บทความที่ต้องการภาพ]]
{{โครงพุทธศาสนา}}
{{โครงพุทธศาสนา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:41, 29 มีนาคม 2561

อหิงสา หรือ อหึงสา (สันสกฤต: अहिंसा) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์[1]

อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่ง[2]และเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สำคัญ (ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ[3] ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน[2][4] มหาตมา คานธีขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้า

อ้างอิง

  1. Bajpai, Shiva (2011). The History of India - From Ancient to Modern Times, Himalayan Academy Publications (Hawaii, USA), ISBN 978-1-934145-38-8; see pages 8, 98
  2. 2.0 2.1 Stephen H. Phillips & other authors (2008), in Encyclopedia of Violence, Peace, & Conflict (Second Edition), ISBN 978-0123739858, Elsevier Science, Pages 1347–1356, 701-849, 1867
  3. John Arapura in K. R. Sundararajan and Bithika Mukerji Ed. (1997), Hindu spirituality: Postclassical and modern, ISBN 978-8120819375; see Chapter 20, pages 392-417
  4. Chapple, C. (1990). Nonviolence to animals, earth and self in Asian Traditions (see Chapter 1). State University of New York Press (1993)