ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนันตริยกรรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างกระแส
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


ส่วนถ้าใครทำอนันตริยกรรมไว้หลายข้อ ก็จะต้องไปบังเกิดมหาขุมนรกอเวจีสถานเดียวอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แม้ทำกรรมดีเท่าใดก็ไม่พ้นและได้รับการลงโทษเป็นเวลายาวนานมากหรือหลายกัลป์ แต่บางครั้งอาจได้รับการลดโทษด้วยการลดเวลาการลงโทษเหลือเพียง 1 กัลป์ ตัวอย่างเช่น[[พระเทวทัต]]ทำกรรมหนักไว้ 2 ประการคือโลหิตุปบาทและสังฆเภท พระเทวทัตสำนึกผิดจึงให้บรรดาพระลูกศิษย์พาตนไปหาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ที่วัดเชตวันมหาวิหารเพื่อขอขมา แต่เมื่อไปถึงสระโบกขรณีหน้าวัดเชตวันมหาวิหาร บรรดาพระลูกศิษย์ได้หยุดพักแวะอาบน้ำชำระร่างกายก่อนเข้าเฝ้า พระเทวทัตต้องการจะอาบน้ำชำระเช่นกัน เมื่อเท้าของท่านสัมผัสกับแผ่นดิน ด้วยบาปกรรมที่หนักมากจนแผ่นดินไม่อาจรองรับไว้ได้จึงสูบเอาพระเทวทัตลงไปสู่มหาขุมนรกอเวจี ไม่มีใครช่วยได้เลย แต่ก่อนที่จะจมลงธรณี พระเทวทัตซึ่งเหลือแต่เศียรได้มองไปยัง[[วัดเชตวันมหาวิหาร]]ที่พระพุทธองค์ประทับอยู่ ก็กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณและถวายกระดูกคางเป็นพุทธบูชาและยึดเอาพระพุทธองค์เป็นที่พึ่งตลอดกาล เมื่อลงสู่มหาขุมนรกอเวจีแล้ว บุญกุศลจากการถวายกระดูกคางก็ทำให้ถูกลงโทษในนรกอเวจีเพียง 1 กัลป์เท่านั้น
ส่วนถ้าใครทำอนันตริยกรรมไว้หลายข้อ ก็จะต้องไปบังเกิดมหาขุมนรกอเวจีสถานเดียวอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แม้ทำกรรมดีเท่าใดก็ไม่พ้นและได้รับการลงโทษเป็นเวลายาวนานมากหรือหลายกัลป์ แต่บางครั้งอาจได้รับการลดโทษด้วยการลดเวลาการลงโทษเหลือเพียง 1 กัลป์ ตัวอย่างเช่น[[พระเทวทัต]]ทำกรรมหนักไว้ 2 ประการคือโลหิตุปบาทและสังฆเภท พระเทวทัตสำนึกผิดจึงให้บรรดาพระลูกศิษย์พาตนไปหาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ที่วัดเชตวันมหาวิหารเพื่อขอขมา แต่เมื่อไปถึงสระโบกขรณีหน้าวัดเชตวันมหาวิหาร บรรดาพระลูกศิษย์ได้หยุดพักแวะอาบน้ำชำระร่างกายก่อนเข้าเฝ้า พระเทวทัตต้องการจะอาบน้ำชำระเช่นกัน เมื่อเท้าของท่านสัมผัสกับแผ่นดิน ด้วยบาปกรรมที่หนักมากจนแผ่นดินไม่อาจรองรับไว้ได้จึงสูบเอาพระเทวทัตลงไปสู่มหาขุมนรกอเวจี ไม่มีใครช่วยได้เลย แต่ก่อนที่จะจมลงธรณี พระเทวทัตซึ่งเหลือแต่เศียรได้มองไปยัง[[วัดเชตวันมหาวิหาร]]ที่พระพุทธองค์ประทับอยู่ ก็กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณและถวายกระดูกคางเป็นพุทธบูชาและยึดเอาพระพุทธองค์เป็นที่พึ่งตลอดกาล เมื่อลงสู่มหาขุมนรกอเวจีแล้ว บุญกุศลจากการถวายกระดูกคางก็ทำให้ถูกลงโทษในนรกอเวจีเพียง 1 กัลป์เท่านั้น

==บาปที่หกแห่งอนันตริยกรรม==
นอกจากบาปแห่งอนันตริยกรรมมีอยู่ห้าข้อแล้ว ยังมีอีกบาปหนึ่งซึ่งได้ถูกจัดเป็นอนันตริยกรรมนั้นก็คือ การทำแท้ง เพราะเด็กที่อยู่ในครรภ์มารดานั้นมีความบริสุทธิ์ มิเคยสร้างบาปกรรมใดๆเลยและไม่มีเหตุปัจจัยของการสร้างกรรม ดังนั้นผู้ที่ทำแท้งจะต้องได้รับผลกรรมก็คือ เป็นโรคร้าย อายุสั้น ครั้นหลังจบชีวิตลงแล้วก็ต้องไปรับโทษในนรกเป็นเวลายาวนานอันมิอาจประมาณได้ มิหนำซ้ำยังต้องถูกวิญญาณเด็กที่ถูกทำแท้งต้องกลายเป็นเจ้ากรรมนายเวรต้องคอยตามล่าผู้ที่ทำแท้งไปทุกชาติจนกว่าแรงกรรมนั้นจะได้ชำระ แต่ก็ยังไม่สิ้นสุดตราบที่วิญญาณนั้นยังไม่อโหสิกรรมให้

== บาปที่หนักที่สุด ==
พระพุทธเจ้าทรงแสดง กรรมหนัก คือ บาปที่ร้ายแรง มีโทษมากกว่า การทำอนันตริยกรรมไว้ คือ ความเห็นผิด เมื่อมีความเห็นผิดย่อมเป็นปัจจัยให้อกุศลธรรมอื่นๆตามมามากมายและล่วงศีลได้ เมื่อเห็นผิด  ย่อมคิดผิด ย่อมมีวาจาผิด (พูดเท็จ พูดหยาบ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ) ย่อมมีการงานผิด  ประพฤติทางกายผิด (ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม) ย่อมเลี้ยงชีพผิด ย่อมเพียรผิด ย่อมระลึกผิด  ย่อมตั้งมั่นผิด ย่อมรู้ผิด เป็นต้น เช่น บุคคลที่เห็นว่าตายแล้วไม่เกิด    ก็ย่อมล่วงศีลได้เพราะเห็นว่าทำบาปไปก็ไม่เป็นไร    จบแค่ชาตินี้ความเห็นผิดนั้นมีโทษมาก  ไม่เพียงแค่ล่วงศีล เท่านั้น   หากเป็นความเห็นผิด  ที่ดิ่งร้ายแรงก็ห้ามสวรรค์ นิพพาน  และไม่สามารถออกจากสังสารวัฏได้เลย   จึงมีโทษมาก มากกว่า   การทำอนันตริยกรรม  เพราะอนันตริยกรรม  ยังมีระยะเวลากำหนด ในการรับผลของกรรม  แต่ความเห็นผิด  กำหนดไม่ได้เพราะไม่สามารถออกไปจาสังสารวัฎฎ์ได้เลย ดังข้อความในพระไตรปิฎก

พระสุตตันตปิฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๒ - หน้าที่ 192

[๑๙๓]   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  เราไม่เล็งเห็นธรรมอย่างอื่นแม้ข้อหนึ่งซึ่งจะมีโทษมากเหมือนมิจฉาทิฏฐินี้เลย  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  โทษทั้งหลายมีมิจฉาทิฏฐิเป็นอย่างยิ่ง.


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:33, 16 มกราคม 2560

อนันตริยกรรม หมายถึง กรรมหนักที่สุด (ครุกรรม) ฝ่ายบาปอกุศล ซึ่งให้ผลทันที มี 5 อย่าง คือ

  1. มาตุฆาต - ฆ่ามารดา
  2. ปิตุฆาต - ฆ่าบิดา
  3. อรหันตฆาต - ฆ่าพระอรหันต์
  4. โลหิตุปบาท - ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงพระโลหิตห้อ ขึ้นไป เช่น พระเทวทัตได้ทำร้ายพระพุทธองค์ ในสมัยพุทธกาล
  5. สังฆเภท - ยังสงฆ์ให้แตกกัน ทำลายสงฆ์

อนันตริยกรรม 4 ประการแรก คือ มาตุฆาต ปิตุฆาต อรหันตฆาต และโลหิตตุปบาท จัดเป็นสาธารณอนันตริยกรรม คือ เป็นอนันตริยกรรมที่ทั่วไปแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ทั้งหลาย หมายความว่า บรรพชิตก็ทำได้ คฤหัสถ์ก็ทำได้
ส่วนสังฆเภท เป็นอสาธารณอนันตริยกรรม คือ เป็นอนันตริยกรรมที่ไม่ทั่วไป หมายความว่า ภิกษุคือบรรพชิตเท่านั้น จึงจักกระทำสังฆเภทอนันตริยกรรม นี้ได้

ในส่วนของโทษหนักเบา และลำดับการให้ผลก่อนหลัง ของอนันตริยกรรม เรียงลำดับจากแรงที่สุดลงไป ได้ดังนี้

  • สังฆเภทอนันตริยกรรม (หนักที่สุด เพราะทำให้พระพุทธศาสนาเสื่อมเสีย)
  • โลหิตุปบาทอนันตริยกรรม (สำคัญมากแต่ปัจจุบันทำไม่ได้เพราะพระพุทธองค์ทรงดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว)
  • อรหันตฆาตอนันตริยกรรม (สำคัญปานกลาง เพราะพระอรหันต์ผู้ซึ่งไม่เบียดเบียนใครเลยและยังเป็นที่เคารพศรัทธาของชาวบ้าน)
  • มาตุฆาตปิตุฆาตอนันตริยกรรม (สำคัญน้อยกว่าอนันตริยกรรมอื่น ๆ เพราะถือว่าอยู่ในเพศฆราวาส)

โทษแห่งอนันตริยกรรม

ด้วยกรรมแห่งอนันตริยกรรมทั้ง 5 ประการนี้จัดเป็นกรรมหนักหรือครุกรรม ผู้ใดทำกรรมอนันตริยกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้นั้นจะได้รับโทษทั้งทางโลกและทางธรรม โทษของทางโลกคือจะถูกผู้คนประณามและสาปแช่ง ไม่คบค้าสมาคมใดๆเลย และยังถูกกฎหมายบ้านเมืองลงโทษอีก(โดยเฉพาะมาตุฆาต ปิตุฆาต และอรหันตฆาตเท่านั้น ยกเว้นสังฆเภทและโลหิตตุปบาทที่กฎหมายไม่สามารถลงโทษได้) ส่วนโทษของทางธรรมคือจะถูกตราหน้าว่าเป็นคนบาปหนักบาปหนาที่สุด ฟ้าไม่อาจจะยกโทษให้เลยแม้แต่น้อย พระพุทธศาสนาได้กล่าวไว้ว่า ผู้ใดทำกรรมอนันตริยกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วจะไม่สามารถบวชเข้ามาเป็นภิกษุได้เลยเพราะถือว่าเป็นผู้ต้องปาราชิกสำหรับฆราวาสแล้วและจะไม่สามารถบรรลุมรรคผลนิพพานใดๆเลยตลอดชีวิตในชาติที่ยังมีชีวิตอยู่ และเมื่อตายจากโลกไปจะต้องตกนรกเพียงสถานเดียว ไม่สามารถขึ้นสวรรค์ได้ ต่อให้ทำกรรมดีมากมายเพียงใดก็ไม่อาจหนีพ้นจากนรกไปได้

ผู้ทำอนันตริยกรรมจะต้องตกนรกลงไปยังขุมนรกที่ลึกที่สุดคือ มหาขุมนรกอเวจี ซึ่งอยู่ชั้นที่ 8 เป็นขุมนรกขุมใหญ่ที่มีการลงโทษหนักโดยไม่มีผ่อนผันหรือหยุดพักแต่ใดๆเลยแม้แต่วินาทีเดียว สัตว์นรกที่ตกขุมนรกนี้จะได้รับความทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัสและเป็นเวลายาวนานที่ไม่อาจจะนับได้เลยหรือเรียกว่า กัลป์

แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าผู้ทำอนันตริยกรรมเพียงข้อใดเพียงข้อเดียว มีจิตสำนึกผิดที่ได้กระทำลงไปและได้ทำกรรมดีมากมายขณะยังมีชีวิต เมื่อตายจากโลก บุญกุศลที่ทำไว้จะนำมาหักกับบาปแห่งอนันตริยกรรมก็จะได้รับการลดโทษด้วยการไม่ไปบังเกิดไปยังมหาขุมนรกอเวจี แต่จะให้ไปเกิดขุมนรกอื่นแทนแต่ต้องได้รับโทษยาวนานเช่นกัน ตัวอย่างเช่น พระเจ้าอชาตศัตรูได้ปลงพระชนม์พระเจ้าพิมพิสารผู้เป็นพระราชบิดา ต่อมาสำนึกผิดและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาตลอดชีวิตจนถูกพระราชโอรสลอบปลงพระชนม์ บุญกุศลที่ได้ทำไว้ทำให้พระองค์ไม่ไปบังเกิดมหาขุมนรกอเวจี แต่ให้ไปเกิดขุมนรกที่ชื่อว่า โลหกุมภีนรก เสวยทุกขเวทนาเป็นเวลา 60,000 ปีนรก

ส่วนถ้าใครทำอนันตริยกรรมไว้หลายข้อ ก็จะต้องไปบังเกิดมหาขุมนรกอเวจีสถานเดียวอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แม้ทำกรรมดีเท่าใดก็ไม่พ้นและได้รับการลงโทษเป็นเวลายาวนานมากหรือหลายกัลป์ แต่บางครั้งอาจได้รับการลดโทษด้วยการลดเวลาการลงโทษเหลือเพียง 1 กัลป์ ตัวอย่างเช่นพระเทวทัตทำกรรมหนักไว้ 2 ประการคือโลหิตุปบาทและสังฆเภท พระเทวทัตสำนึกผิดจึงให้บรรดาพระลูกศิษย์พาตนไปหาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ที่วัดเชตวันมหาวิหารเพื่อขอขมา แต่เมื่อไปถึงสระโบกขรณีหน้าวัดเชตวันมหาวิหาร บรรดาพระลูกศิษย์ได้หยุดพักแวะอาบน้ำชำระร่างกายก่อนเข้าเฝ้า พระเทวทัตต้องการจะอาบน้ำชำระเช่นกัน เมื่อเท้าของท่านสัมผัสกับแผ่นดิน ด้วยบาปกรรมที่หนักมากจนแผ่นดินไม่อาจรองรับไว้ได้จึงสูบเอาพระเทวทัตลงไปสู่มหาขุมนรกอเวจี ไม่มีใครช่วยได้เลย แต่ก่อนที่จะจมลงธรณี พระเทวทัตซึ่งเหลือแต่เศียรได้มองไปยังวัดเชตวันมหาวิหารที่พระพุทธองค์ประทับอยู่ ก็กล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณและถวายกระดูกคางเป็นพุทธบูชาและยึดเอาพระพุทธองค์เป็นที่พึ่งตลอดกาล เมื่อลงสู่มหาขุมนรกอเวจีแล้ว บุญกุศลจากการถวายกระดูกคางก็ทำให้ถูกลงโทษในนรกอเวจีเพียง 1 กัลป์เท่านั้น

อ้างอิง