ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผลไม้"
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม) ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ |
||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
[[ไฟล์:Fruit1.jpg|thumb|right|250px|แผงขายผลไม้]] |
[[ไฟล์:Fruit1.jpg|thumb|right|250px|แผงขายผลไม้]] |
||
'''ผลไม้''' ([[ภาษาอีสาน|อีสาน]]: หมากไม้, บักไม้, [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|ถิ่นเหนือ]]: หน่วยไม้) หมายถึง ผลที่เกิดจาก[[การขยายพันธุ์]]โดยอาศัยเพศของพืชบางชนิด ซึ่ง[[มนุษย์]]สามารถกินได้ และส่วนมากจะไม่ทำเป็นอาหารคาว ตัวอย่างผลไม้ เช่น [[ส้ม (ผลไม้)|ส้ม]] [[แอปเปิ้ล]] [[กล้วย]] [[มะม่วง]] [[ทุเรียน]] รวมถึง [[มะเขือเทศ]] ที่สามารถจัดได้ว่าเป็นทั้ง[[ผัก]]และผลไม้ |
|||
คำว่า ผลไม้ มาจากการประสมของคำว่า '''ผล''' และ '''ไม้''' คำนี้จึงสามารถอธิบายได้ว่า สิ่งที่เป็น'''ผลผลิต'''ที่เกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตจำพวก[[พืช]] โดยลักษณะรวมๆ จะมีรูปทรงคล้าย[[ทรงกลม]]หรือ[[ทรงรี]] ซึ่งอาจมีความแตกต่างกันบ้างตามสายพันธุ์ โดยปกติผลไม้จะต้องมี[[เปลือก]]หรือมีสิ่งที่ห่อหุ้มเนื้อที่อยู่ข้างใน ซึ่งมักจะถูกนำไปเป็นอาหารโดยมนุษย์หรือสัตว์ |
|||
ในส่วนของการเจริญเติบโต สามารถขยายพันธุ์ได้โดยดอก เมล็ด หรือ อื่นๆ ซึ่งผลไม้ที่ออกมานี้ตอนแรกจะมีขนาดเล็กและมักจะไม่ค่อยถูกนำมากินโดยมนุษย์ แต่เมื่อเติบโตจนสุกงอม จะมีลักษณะที่แตกต่างไปจากเดิม คือ เปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอม และรสหวาน เป็นต้น จนสามารถนำมากินหรือประกอบอาหาร ส่วนมากมักจะเป็นอาหารหวาน |
|||
ถ้าผลไม้สุกงอมเต็มที่จะมีลักษณะที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้น้อยลง เช่น เน่าเสีย บูด ขึ้นรา เป็นต้น และจะหลุดร่วงจากต้นลงสู่พื้นดินหรือพื้นน้ำ กลายเป็นอาหารให้แก่ห่วงโซ่อาหารลำดับถัดไป เช่น แบคทีเรีย จุรินทรีย์ จนกลายเป็นอินทรียธาตุหรืออนินทรียธาตุ หมุนเวียนเป็นวัฏจักรต่อไป |
ถ้าผลไม้สุกงอมเต็มที่จะมีลักษณะที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้น้อยลง เช่น เน่าเสีย บูด ขึ้นรา เป็นต้น และจะหลุดร่วงจากต้นลงสู่พื้นดินหรือพื้นน้ำ กลายเป็นอาหารให้แก่ห่วงโซ่อาหารลำดับถัดไป เช่น แบคทีเรีย จุรินทรีย์ จนกลายเป็นอินทรียธาตุหรืออนินทรียธาตุ หมุนเวียนเป็นวัฏจักรต่อไป |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:05, 4 เมษายน 2565
ถ้าผลไม้สุกงอมเต็มที่จะมีลักษณะที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้น้อยลง เช่น เน่าเสีย บูด ขึ้นรา เป็นต้น และจะหลุดร่วงจากต้นลงสู่พื้นดินหรือพื้นน้ำ กลายเป็นอาหารให้แก่ห่วงโซ่อาหารลำดับถัดไป เช่น แบคทีเรีย จุรินทรีย์ จนกลายเป็นอินทรียธาตุหรืออนินทรียธาตุ หมุนเวียนเป็นวัฏจักรต่อไป
การที่จะบอกได้ว่าเป็นผลไม้อะไรนั้น จำเป็นต้องมีสิ่งบ่งชี้อื่น ๆ ประกอบหลายอย่าง เช่น เปลือกมีลักษณะเป็นหนามและแข็ง เนื้อข้างในสีเหลือง หมายถึง ทุเรียน เป็นต้น
ผลไม้ในความหมายพฤกษศาสตร์กับผลไม้ในความหมายทั่วไป
ผลไม้ในความหมายทั่วไป หมายถึง ผลไม้ที่สามารถกิน โดยไม่ต้องนำไปปรุงในครัวก่อนแต่มีรสชาติที่ดี ซึ่งอาจจะต้องปอกเปลือกก่อนกิน ดังนั้นอาหารหลายชนิดจึงเป็นผลไม้ในเชิงพฤกษศาสตร์แต่กลับถูกจัดว่าเป็นผักในเชิงการทำครัว. อันได้แก่ผลของพืชจำพวกฟัก (เช่น ฟักทอง แฟง และ แตงกวา), มะเขือเทศ, ถั่วลันเตา, ถั่วฝักยาว, ข้าวโพด, พริกหยวก, เครื่องเทศ.[1]
โดยผลไม้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ ผลของมะพร้าวทะเล (Lodoicea maldivica) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดหนักได้ถึง 20 กิโลกรัม[2]
ผลผลิต
อินเดีย เป็นผู้ผลิตผลไม้รายใหญ่ที่สุดของโลก ตามมาด้วย เวียดนาม และจีน
ผู้ผลิตผลไม้สดสิบอันดับแรกของโลก — 2548 | ||||
---|---|---|---|---|
ประเทศ | มูลค่าการผลิต (หน่วย $1000) | หมายเหตุ | ผลิตผล (ตัน) | หมายเหตุ |
อินเดีย | 1,052,766 | C | 6,600,000 | F |
เวียดนาม | 438,652 | C | 2,750,000 | F |
จีน | 271,167 | C | 1,790,000 | F |
อินโดนีเซีย | 255,216 | C | 1,600,000 | F |
ไนจีเรีย | 223,314 | C | 1,400,000 | F |
อิหร่าน | 223,314 | C | 1,400,000 | F |
พม่า | 183,436 | C | 1,150,000 | F |
ปาปัวนิวกินี | 129,203 | C | 810,000 | F |
เนปาล | 82,945 | C | 520,000 | F |
เกาหลีเหนือ | 78,160 | C | 490,000 | F |
ไม่มีหมายเหตุ = ตัวเลขอย่างเป็นทางการ, F = ค่าประมาณของ FAO, * = ตัวเลขอย่างไม่เป็นทางการ, C = ตัวเลขจากการคำนวณ; มูลค่าการผลิตคิดตามฐานราคาผลไม้ระหว่างประเทศในปี 2542 - 2543 |
ฟิลิปปินส์ เป็นผู้ผลิตผลไม้สดเขตร้อนรายใหญ่ที่สุดของโลก ตามมาด้วย อินโดนีเซีย และอินเดีย
ผู้ผลิตผลไม้สดเขตร้อนสิบอันดับแรกของโลก — 2548 | ||||
---|---|---|---|---|
ประเทศ | มูลค่าการผลิต (หน่วย $1000) | หมายเหตุ | ผลิตผล (ตัน) | หมายเหตุ |
ฟิลิปปินส์ | 389,164 | C | 3,400,000 | F |
อินโดนีเซีย | 377,718 | C | 3,300,000 | F |
อินเดีย | 335,368 | C | 2,930,000 | F |
จีน | 177,413 | C | 2,164,000 | F |
โคลอมเบีย | 131,629 | C | 1,150,000 | F |
ไทย | 83,556 | C | 730,000 | F |
ปากีสถาน | 60,893 | C | 532,000 | F |
บราซิล | 55,513 | C | 485,000 | F |
บังกลาเทศ | 31,934 | C | 279,000 | F |
เม็กซิโก | 28,615 | C | 250,000 | F |
ไม่มีหมายเหตุ = ตัวเลขอย่างเป็นทางการ, F = ค่าประมาณของ FAO, * = ตัวเลขอย่างไม่เป็นทางการ, C = ตัวเลขจากการคำนวณ; มูลค่าการผลิตคิดตามฐานราคาผลไม้ระหว่างประเทศในปี 2542 - 2543[3] |
อ้างอิง
- ↑ McGee. On Food and Cooking. pp. Chapter 6: A Survey of Common Vegetables.
- ↑ ปฏิบัติการกู้ชีพ มะพร้าวทะเล, คอลัมน์ V.I.P. (Very Important Plant) โดย กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ หน้า 118-127 นิตยสาร Aquarium Biz ฉบับที่ 22 ปีที่ 2: เมษายน 2012
- ↑ Food And Agricultural Organization of United Nations: Economic And Social Department: The Statistical Devision