ผู้ใช้:Ae zaqweerty27/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แอสตันวิลลา
Aston Villa Football Club
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลา
ฉายาเดอะวิลลา, วิลลาส์, สิงโต
สิงห์ผงาด, สิงห์ผยอง (ภาษาไทย)
ก่อตั้ง21 พฤศจิกายน 1874; 149 ปีก่อน (1874-11-21)[1]
สนามนิว วิลลาพาร์ก
ความจุ60,101[2]
เจ้าของริโอ ทินโต สปอร์ต วิลลา
ประธานจอห์น เรดแมน และ เฮเลน วิลสัน
ผู้จัดการสเตฟาน ไลท์
ลีกพรีเมียร์ลีก
2020–21พรีเมียร์ลีก อันดับที่ 11 จาก 20
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน
ฤดูกาลปัจจุบัน

สโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลา (อังกฤษ: Aston Villa Football Club; /ˈæstən ˈvɪlə/)เป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลของประเทศอังกฤษ ในระดับพรีเมียร์ลีก เป็นสโมสรฟุตบอลอีกแห่งหนึ่งในเมืองเบอร์มิงแฮม อังกฤษ มีคู่ปรับร่วมเมืองคือ เบอร์มิงแฮมซิตี ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1874 เคยได้แชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกหนึ่งสมัยในปี ค.ศ. 1982 ซึ่งเป็นยุคของโทนี่ บาร์ตัน โดยชนะ บาเยิร์นมิวนิก จากเยอรมนี ไปได้ 1-0 จากการยิงประตูของ ปีเตอร์ วิธ ในนาทีที่ 67[3] เคยได้แชมป์ฟุตบอลลีกดิวิชันหนึ่ง (พรีเมียร์ลีกปัจจุบัน) ถึง 7 สมัย เอฟเอคัพ 7 สมัย ฟุตบอลลีกคัพ 5 สมัย

ประวัติ[แก้]

สโมสรฟุตบอลแอสตันวิลลาก่อตั้งในปี ค.ศ. 1874 ในกลางเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015 พอล แลมเบิร์ต ถูกปลดออกตำแหน่งผู้จัดการทีมหลังจากมีผลงานที่ย่ำแย่ ชนะเพียง 5 นัด จาก 25 นัด ในลีก[4] และต่อมา ทิม เชอร์วูด ถูกแต่งตั้งขึ้นมา ซึ่งเชอร์วูดสามารถทำให้สโมสรรอดพ้นจากการตกชั้นไปได้ และเข้าชิงเอฟเอคัพ แม้จะเป็นฝ่ายแพ้ไปก็ตาม แต่ต่อมาในปลายเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน จากผลงานที่ย่ำแย่ในลีก 10 นัด ชนะเพียงนัดเดียว ทำให้เชอร์วูดก็ถูกปลดออกไป[5] และเป็นเรมี การ์เด อดีตกองหลังชาวฝรั่งเศสของอาร์เซนอลเข้ามาเป็นผู้จัดการแทน[6] แต่ต่อมาไม่นานก็ถูกปลด[7] และก่อนจะสิ้นฤดูกาลไม่นาน เหลือการแข่งขันอีก 4 นัด แต่ทว่าแอสตันวิลลากลับต้องตกชั้นสู่ลีกแชมเปียนชิป เนื่องจากมีคะแนนห่างจากนอริชซิตี สโมสรที่อยู่อันดับ 17 ซึ่งจะเป็นสโมสรสุดท้ายที่จะไม่ตกชั้นถึง 15 คะแนน ซึ่งไม่ว่าจะทำอย่างไรก็ไม่รอดพ้นการตกชั้นไปได้ หลังจากแพ้ต่อแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ไป 1-0 ที่สนามโอลด์แทรฟฟอร์ด นับการเป็นตกชั้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สโมสร หลังจากลีกสูงสุดของอังกฤษเปลี่ยนชื่อจากดิวิชัน 1 มาเป็นพรีเมียร์ลีก[8]

หลังจากตกชั้นไปแล้ว แอสตันวิลลาได้ถูกซื้อกิจการจากกลุ่มทุนจากจีน โดยแรนดี เลอร์เนอร์ ประธานสโมสรได้ขายกิจการให้กับเรคคอนกรุ๊ป ซึ่งมีโทนี เจียงตง เซียะ นักธุรกิจชาวจีนเป็นเจ้าของ คาดว่าราคาน่าจะอยู่ที่ 60-70 ล้านปอนด์ (ราว 3,120-3,640 ล้านบาท)[9]

ในปี 2016 แอสตันวิลาถูกขายอีกครั้ง โดยผู้ซื้อครั้งนี้คือกลุ่มทุน ริโอ ทินโต สปอร์ต กลุ่มธุรกิจกีฬา จากบริษัทกิจการเหมือง ริโอ ทินโต ที่มีทีมกีฬาในสังกัดอยู่แล้วหลายทีม จากหลายประเภทกีฬาและจากหลายประเทศ การซื้อกิจการครั้งนี้ทำให้ทีมมีเงินหมุนเวียนเยอะขึ้นมาก จนทำการต่อเติมสนามแข่งและสนามซ้อมครั้งใหญ่ จนไได้นำว่าว่า "นิว" มาแปะไว้หน้าชื่อสนามเดิม บวกกับงบประมาณ วิธีการบริหาร ทุกอย่างถูกเปลี่ยนถ่ายสู่วิธีแบบสมัยใหม่ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญ ก่อนที่ "สเตฟาน ไลท์" ผู้จัดการททีมชุดเยาวชนของทีม จะก้าวขึ้นมารัตำแหน่งผู้จัดกรทีมชุดใหญ่ และทำทีมได้ไปเล่นยุโรป(ถ้วยคอนเฟอร์เรนซ์ลีก)ภายใน 3 ปี และจบอันดับ 7 ซึ่งถือว่าอันดับสูงขึ้นทุกปี


ผู้เล่น 2022-2023[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK อังกฤษ เดวิด เฮนเดอร์สัน (รองกัปตัน)
2 DF อังกฤษ แดนนี เลน
3 DF โครเอเชีย นิโคลา กลาวิค
4 DF สเปน เซร์ฆิโอ โรดริเกซ
5 DF เนเธอร์แลนด์ แซร์ช เร็มเมอร์ส (ซื้อมาจากโกรนิงเงิน 27+5 ล้านปอนด์)
6 MF ฝรั่งเศส ลีออนซ์ แดมเบเล
7 MF อังกฤษ อเล็กซ์ เฟอร์กัส
8 MF โปรตุเกส มาเตวช์ บาร์บอซา (ซื้อมาจากบรากา 45 ล้านปอนด์)
9 FW สเปน ราฟาเอล ดานิโล
10 MF บราซิล จูลินโญ
11 FW อุรุกวัย คาร์ลอส เปเรย์โร
13 GK เม็กซิโก โทมัส อังเดร-อันแดร์ซอน
15 DF อังกฤษ แมตต์ มาร์ติน
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
16 MF อังกฤษ แม็ด รอสส์ (กัปตัน)
19 FW อังกฤษ แม็กซ์ บาร์ตัน
20 MF อังกฤษ อดัม รีช
21 MF อุรุกวัย กัสตอน รามิเรซ
22 DF บราซิล ดานิเอลา
23 MF อิตาลี โลเรนโซ สกาเล็ตตา (ยืมตัวมาจากโรมา 10 ล้านปอนด์)
27 DF กานา อัลเบิร์ต อโดมาห์
29 FW อังกฤษ เจมส์ ฮันเตอร์ส
31 GK ฝรั่งเศส แฟรงค์ ออเรลา
34 MF สวีเดน ลูคัส ลาร์สัน (ขึ้นมาจากทีมเยาวชน)
43 MF สวีเดน ลุดวิก ลาร์สัน (ขึ้นมาจากทีมเยาวชน)
49 FW เกาหลีใต้ คัง ซอง-จิน (ขึ้นมาจากทีมเยาวชน)

ผู้เล่นเยาวชน[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
35 DF อังกฤษ ฮาโรลด์ วอล์กเกอร์ (ผู้เล่นจากทีมเยาวชน)
36 MF อังกฤษ โทมัส แฟร์คลัฟ (ผู้เล่นจากทีมเยาวชน)
37 FW อังกฤษ ริชาร์ด เมสัน (ผู้เล่นจากทีมเยาวชน)
41 GK เซเนกัล อาห์มาดู ฟอลล์ (ผู้เล่นจากทีมเยาวชน)
45 DF บราซิล โมราโต ดา ซิลวา (ผู้เล่นจากทีมเยาวชน)

ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
18 MF ออสเตรเลีย คอนเนอร์ เมทคาล์ฟ (ไป ลูตันทาวน์ จนจบฤดูกาล 2023-24)
33 DF โปรตุเกส เซลโซ โกเมซ (ไป ซัมป์โดเรีย จนจบฤดูกาล 2023-24)
47 FW อังกฤษ โจเอล ไฮร์เดย์ (ไป ฟอเรสต์ จนจบฤดูกาล 2023-24)

ผู้เล่นที่หมดสัญญายืมตัว[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น

---

ผู้เล่นที่ถูกขาย[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
8 MF โปรตุเกส โอลิเวรา (เซ็นฟรีกับอัลฮิลาล)
17 MF เบลเยียม มัตธิอัส เอมอนด์ (ขายให้อินเตอร์มิลาน 16+5 ล้านปอนด์)
24 DF แอลจีเรีย อิสมาเอล แมนดี้ (ขายให้อัล นาเซอร์ 20 ล้านปอนด์)
35 DF สกอตแลนด์ ฟิล ฟอร์เรสต์ (เซ็นฟรีกับ ฮาร์ตออฟมิดโลเธียน)

ผู้เล่นที่มีชื่อเสียงในอดีต[แก้]

เกียรติประวัติ[แก้]

อังกฤษ ระดับประเทศ[แก้]

ยุโรป ระดับทวีปยุโรป[แก้]

โลก ระดับโลก[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Aston Villa Football Club information". BBC Sport. 1 January 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2007. สืบค้นเมื่อ 26 June 2007.
  2. "Premier League Handbook Season 2015/16" (PDF). Premier League. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 September 2015. สืบค้นเมื่อ 23 May 2016.
  3. 1981-82 season at UEFA website
  4. ""สิงห์ผยอง" บู่เกินทน ตะเพิด "แลมเบิร์ต" พ้นเก้าอี้". ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 February 2015.
  5. "รายที่สอง "วิลลา" เด้ง "เชอร์วูด" สังเวยโซนแดง". ผู้จัดการออนไลน์. 26 October 2015. สืบค้นเมื่อ 25 October 2015.
  6. "ขอต้อนรับ Remi Garde กลับสู่ Premier League อย่างเป็นทางการ". Arsenal.in.th อาร์เซนอลไทย. 3 November 2015. สืบค้นเมื่อ 3 November 2015.
  7. "แอสตันวิลลา ประกาศปลด เรมี่ การ์ด พ้นตำแหน่งกุนซือแอสตันวิลลา แล้ว". สำนักข่าวไทย. 16 April 2016. สืบค้นเมื่อ 30 March 2016.
  8. "ว่ากันใหม่! 'แอสตันวิลลา' ตกชั้นลีกสูงสุดครั้งแรกรอบ 28 ปี". ไทยรัฐ. 17 April 2016. สืบค้นเมื่อ 17 April 2016.
  9. "กลุ่มทุนจีน ตัดสินใจเทคโอเวอร์"สิงห์ผยอง"แอสตันวิลลา เรียบร้อย". โพสต์ทูเดย์. 19 May 2016. สืบค้นเมื่อ 25 May 2016.
  10. Kendrick, Mat (7 July 2011). "Aston Villa: The day the claret and blues won the baseball league". Birmingham Mail. สืบค้นเมื่อ 7 July 2011.
  11. "Club Honours". Aston Villa F.C. สืบค้นเมื่อ 18 April 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]




{{โครงองค์กร}}