อัลฮิลาล ชื่อเต็ม สโมสรฟุตบอลอัลฮิลาลซะอูด ฉายา Al-Za'eem (เดอ ลีเดอร์) ก่อตั้ง 1957 (as the Olympic Club ) สนาม สนามกีฬาแห่งชาติสมเด็จพระราชาธิบดีฟาฮัด,ริยาด (ความจุ: 68,752) ประธานสโมสร อับดุลเราะห์มาน บิน มูซาอัด บิน อับดุล อาซิส ผู้จัดการทีม จอร์จอส โดนิส ลีก ซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีก 2019/20 1. เว็บไซต์ เว็บไซต์สโมสร
สโมสรอัลฮิลาลุสซะอูดี (อาหรับ : نادي الهلال السعودي ; อังกฤษ : Al-Hilal Saudi Football Club ) หรือที่เรียกกันสั้นว่า อัลฮิลาล เป็นสโมสรฟุตบอลในกรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ.1957) [1]
สโมสรอัลฮิลาลมีผลงานชนะเลิศในลีกสูงสุดของประเทศซาอุดีอาระเบียถึง 13 สมัย ครองสถิติคว้าแชมป์ลีกได้มากที่สุด และเคยคว้าแชมป์ระดับทวีปในรายการเอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก 2 สมัย
ประวัติ [ แก้ ]
ด้านซ้าย โรเบโต้ ริเวลลิโน่(บราซิล)
และด้านขวา นาจีบ อัล อิหม่ามในปี พ.ศ. 2522
สโมสรอัลฮิลาลก่อตั้งโดย อับดุลเราะห์มาน บิน ซาอิด เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2500 ในชื่อดิ โอลิมปิก คลับ ต่อมาชื่อของสโมสรถูกเปลี่ยนไปเมื่อ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2501 โดยพระราชกฤษฎีกาจากกษัตริย์ซะอูด (King Saud) หลังจากที่ได้เข้าร่วมทัวร์นาเมนต์ที่แข่งขันระหว่างดิโอลิมปิกคลับ, อัชชะบาบ , อัรริยาฏ และแอลคาวคับ[2]
เกียรติประวัติ [ แก้ ]
ภายในประเทศ [ แก้ ]
ซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีก
ชนะเลิศ (16) : 1977, 1979, 1985, 1986, 1988, 1990, 1996, 1998, 2002, 2005, 2008, 2010, 2011, 2017, 2018, 2020.
รองชนะเลิศ(10) : 1980, 1981, 1983, 1987, 1993, 1995, 1997, 2006, 2007, 2009
ซาอุดีคิงส์คัพ
ชนะเลิศ (6) : 1961, 1964, 1980, 1982, 1984, 1989
รองชนะเลิศ(6) : 1963, 1968, 1977, 1981, 1985, 1987
ถ้วยมกุฎราชกุมาร (คราวน์พรินซ์คัพ)
ชนะเลิศ(11) : 1964, 1995, 2000, 2003, 2005, 2006, 2008, 2009, 2010, 2011, 2012
รองชนะเลิศ(1) : 1998
Saudi Federation cup
ชนะเลิศ (7) : 1987, 1990, 1993, 1996, 2000, 2005, 2006
รองชนะเลิศ(5) : 1986, 2002, 2003, 2008, 2010
ระดับนานาชาติ [ แก้ ]
เอเชีย [ แก้ ]
กัลฟ์ [ แก้ ]
อาหรับ [ แก้ ]
รายการอื่น [ แก้ ]
นักเตะ [ แก้ ]
ทีมหลัก [ แก้ ]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
ปล่อยให้ยืมตัว [ แก้ ]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
ทีมสำรอง [ แก้ ]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
อ้างอิง [ แก้ ]
แหล่งข้อมูลอื่น [ แก้ ]
แชมป์ 3 สมัย แชมป์ 2 สมัย กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ (2013, 2015) •
อูราวะ เรดไดมอนส์ (2007, 2017) •
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ (2006, 2016) •
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ (2001, 2002) •
อุลซันฮุนได (2012, 2020) •
เอสเตกฮลัล (1970, 1990) •
ซ็องนัม (1995, 2010) •
อัล อิตติฮัด (2004, 2005) •
อัล ซาดด์ (1989, 2011) •
ธนาคารกสิกรไทย (1994, 1995) •
มัคคาบี้ เทลอาวีฟ (1969, 1971)
แชมป์สมัยเดียว