ประเทศชิลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐชิลี

República de Chile (สเปน)
Chile Wüdalmapu แม่แบบ:Arn icon
Chili Suyu (ไอมารา)
Chili Ripuwlika (เกชัว)
Repūvirika o Tire แม่แบบ:Rap icon
คำขวัญ"Por la razón o la fuerza" (สเปน)
ที่ตั้งของชิลี
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ซานเตียโก
ภาษาราชการภาษาสเปน
การปกครองสาธารณรัฐระบบประธานาธิบดี
เซบัสเตียน ปิญเญรา
ได้รับเอกราช 
จากสเปน
• ประกาศเอกราช
12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2361
• ได้รับการรับรอง
25 เมษายน พ.ศ. 2387
พื้นที่
• รวม
756,950 ตารางกิโลเมตร (292,260 ตารางไมล์) (37)
1.07
ประชากร
• 2558 ประมาณ
18,006,407[1] (62)
• สำมะโนประชากร 2555
16,341,929[2]
24 ต่อตารางกิโลเมตร (62.2 ต่อตารางไมล์) (194)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 452.095 พันล้าน
$ 24,587
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 263.206 พันล้าน
$ 14,314
จีนี (2558)47.7[3]
ข้อผิดพลาด: ค่าจีนีไม่ถูกต้อง
เอชดีไอ (2559)เพิ่มขึ้น 0.847
ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · 38th
สกุลเงินเปโซ (CLP)
เขตเวลาUTC−3 ถึง −5
รหัสโทรศัพท์56
โดเมนบนสุด.cl
รัฐสภาตั้งอยู่ที่เมืองบัลปาราอีโซ
รวมเกาะอีสเตอร์และเกาะซาลาอีโกเมซ แต่ไม่นับรวมพื้นที่ 1,250,000 ตร.กม. ของดินแดนที่ชิลีอ้างสิทธิ์ในทวีปแอนตาร์กติกา

ชิลี (สเปน: Chile ชีเล; ภาษาสเปน: [ˈtʃile]) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (อังกฤษ: Republic of Chile; สเปน: República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร[4] ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้วย

ภูมิศาสตร์

ประเทศชิลีเป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาใต้ มีลักษณะพื้นที่ทอดตัวเป็นแนวยาวทางด้านทิศตะวันตกของทวีป ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณประเทศชิลีมีการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่เมื่อ 10,000 ปีที่แล้ว[5] โดยผู้ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานเรียกว่าชาวมาปูเช (Mapuche) ซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณชายฝั่งและบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณมอนเตเบร์เด (Monte Verde) และกูเอบาเดลมีโลดอน (Cueva Del Milodon)

ประวัติศาสตร์

ยุคโบราณ

อาณานิคมสเปน

ในสมัยคริตศตวรรษที่ 16 สเปนภายใต้การนำของเปโดร เด บัลดีเบีย (Pedro De Valdivia) หนึ่งในกองกิสตาดอร์ เข้ามาพิชิตชิลี แม้ว่าจะได้รับการต่อต้านจากชาวมาปูเชแต่ก็สามารถยึดชิลีได้เป็นผลสำเร็จและนำชิลีรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิสเปน อย่างไรก็ตามชัยชนะของสเปนในครั้งนี้ทำให้สเปนสามารถยึดได้เฉพาะดินแดนแถบเมืองซานเตียโกและบริเวณใกล้เคียงเท่านั้น เพราะบริเวณอื่นกองทัพสเปนยังไม่สามารถเอาชนะกองทัพของชาวมาปูเชที่เหลือได้ ซึ่งสเปนพยายามปราบปรามหลายครั้งแต่ไม่สำเร็จ จนในที่สุดต้องใช้แม่น้ำบีโอบีโอเป็นตัวแบ่งเขตแดน

สงครามประกาศเอกราช

เบอร์นาร์โด โอ ฮิกกินส์, ผู้อำนวยการศาลฎีกาชิลี

ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 โคเซ มีเกล การ์เรรา (Jose Miguel Carrera) ได้ประกาศเอกราชให้ชิลีเป็นอิสระจากสเปน แม้ว่าสเปนจะพยายามเข้ามาปราบปรามและยึดครองชิลีอีกครั้ง แต่การยึดครองก็เป็นช่วงเวลาสั้น ๆ เท่านั้น จนในที่สุดชิลีสามารถขับไล่อิทธิพลของสเปน และได้เอกราชจากสเปนโดยสมบูรณ์ในวันที่ 12 พฤษภาคม 1818 หลังจากได้เอกราชจากสเปนแล้ว รัฐบาลชิลีใช้ความพยายามอย่างสูงในการยึดครองดินแดนของชาวมาปูเชจนสามารถยึดดินแดนได้โดยเด็ดขาดในปี ค.ศ. 1871 และขยายอาณาเขตทางทิศใต้จนครอบคลุมถึงบริเวณช่องแคบมาเจลลัน นอกจากนี้แล้ว รัฐบาลชิลีได้ทำสงครามแปซิฟิกกับประเทศโบลิเวียและเปรูจนได้รับชัยชนะ ทำให้สามารถขยายดินแดนทางตอนเหนือ ซึ่งดินแดนที่ได้มาจากทั้งสองเหตุการณ์กลายเป็นดินแดนของประเทศชิลีในปัจจุบัน[6]

ศตวรรษที่ 20

รัฐบาลทหาร เอากุสโต ปีโนเชต

ดูเพิ่มเติมความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับชิลีที่ การเข้าแทรกแซงของสหรัฐอเมริกาในชิลี

การเมืองการปกครอง

ธงชาติชิลีและรัฐธรรมนูญ

ชิลีปกครองในรูปแบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดี มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล รัฐบาลเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร รัฐธรรมนูญของชิลีฉบับปัจจุบันผ่านการลงประชามติในปี พ.ศ. 2523 สมัยรัฐบาลทหารของเอากุสโต ปีโนเชต และเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2524 จากนั้นได้ผ่านการแก้ไขหลายครั้ง โดยครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2553

บริหาร

ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขของรัฐและหัวหน้าคณะรัฐบาล รวมถึงเป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งในระบบคะแนนนิยม วาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี (ไม่กำหนดวาระ สามารถดำรงตำแหน่งได้หากได้รับการเลือกตั้งต่อไป)

นิติบัญญัติ


ตุลาการ


การบังคับใช้กฎหมาย

ระบบกฎหมาย : ระบบประมวลกฎหมาย ที่มีรากฐานมาจากระบบกฎหมายของสเปน

สิทธิมนุษยชน

การแบ่งเขตการปกครอง

ชิลีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น แคว้น (สเปน: regiones) 15 แคว้น แต่ละแคว้นมี ผู้ว่าการแคว้น (intendente) ได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี

แคว้นต่าง ๆ มีชื่อทางการทั้งเป็นชื่อเรียกและตัวเลขโรมัน (เช่น IV - เขตที่ 4) ลำดับตัวเลขเรียงตามที่ตั้งของแคว้นต่าง ๆ ตั้งแต่ทางตอนเหนือลงมาทางตอนใต้ ซึ่งโดยทั่วไป ตัวเลขโรมันจะถูกใช้มากกว่าชื่อของแคว้น ยกเว้นแคว้นอันเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง ซึ่งเรียกว่า แคว้นเมืองหลวงซานเตียโก (Región Metropolitana de Santiago หรือ RM)

แต่ละแคว้นแบ่งออกเป็น จังหวัด (provincias) รวม 51 จังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัด (gobernador) เป็นหัวหน้า โดยแต่ละจังหวัดก็ยังแบ่งพื้นที่ย่อยลงไปอีกเป็น เทศบาล (comunas) แต่ละแห่งมีนายกเทศมนตรี (alcalde) เป็นของตนเอง ผู้ว่าราชการจังหวัดได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดี ขณะที่นายกเทศมนตรีได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน

แคว้นของประเทศชิลี
แคว้นของประเทศชิลี
หมายเลข แคว้น เมืองหลวง
I ตาราปากา อีกีเก
II อันโตฟากัสตา อันโตฟากัสตา
III อาตากามา โกเปียโป
IV โกกิมโบ ลาเซเรนา
V บัลปาราอีโซ บัลปาราอีโซ
VI โอคีกินส์ รังกากวา
VII เมาเล ตัลกา
VIII บีโอ-บีโอ กอนเซปซีออน
IX อาเรากานีอา เตมูโก
X โลสลาโกส ปวยร์โตมอนต์
XI ไอเซน โกไยเก
XII มากายาเนส ปุนตาอาเรนัส
RM แคว้นมหานครซานเตียโก ซานเตียโก
XIV โลสรีโอส บัลดีเบีย
XV อารีกา-ปารีนาโกตา อารีกา
 
เมืองที่ใหญ่ที่สุดในชิลี
2012 pre-Census[1]
อันดับ ชื่อ แคว้น ประชากร
ซันติอาโก
ซันติอาโก
กอนเซปซิออน
กอนเซปซิออน
1 ซันติอาโก แคว้นมหานครซันติอาโก 6,026,797 บัลปาราอิโซ
บัลปาราอิโซ
ลาเซเรนา
ลาเซเรนา
2 กอนเซปซิออน แคว้นบิโอ-บิโอ 945,544
3 บัลปาราอิโซ แคว้นบัลปาราอิโซ 930,220
4 ลาเซเรนา แคว้นโกกิมโบ 412,586
5 อันโตฟากัสตา แคว้นอันโตฟากัสตา 346,126
6 เตมูโก แคว้นอาเรากานิอา 339,750
7 อิกิเก แคว้นตาราปากา 278,250
8 รังกากัว แคว้นโอฆิกินส์ 276,532
9 ปูเอร์โตมอนต์ แคว้นโลสลาโกส 228,118
10 อาริกา แคว้นอาริกาและปารินาโกตา 210,920


นโยบายต่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา

ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย

ความสัมพันธ์ชิลี – ไทย
Map indicating location of ชิลี and ไทย

ชิลี

ไทย
  • การทูต
  • เศรษฐกิจ
  • กองทัพ
  • ความร่วมมือทางวิชาการ
  • การเยือน
    • ฝ่ายไทย
    • ฝ่ายชิลี

กองทัพ

เศรษฐกิจ

โครงสร้างเศรษฐกิจ

อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

แหล่งพลังงานน้ำมัน และ ปิโตรเลียม

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

การคมนาคม และ โทรคมนาคม

เส้นทางคมนาคม

โทรคมนาคม

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

การศึกษา


สาธารณสุข

ประชากรศาสตร์

เชื้อชาติ

ชนพื้นเมือง

ภาษา

ภาษาประจำชาติของชิลีคือภาษาสเปน แต่ว่าภาษาสเปนที่ใช้พูดสื่อสารในประเทศชิลีจะมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง โดยมีไวยากรณ์และการออกเสียงที่ผิดแผกแตกต่างจากภาษาสเปนที่ใช้พูดสื่อสารในประเทศรอบข้างพอสมควร

ศาสนา

กีฬา

ฟุตบอล

บาสเกตบอล

ฟลอร์บอล

มวยสากล

เบสบอล

วัฒนธรรม

สถาปัตยกรรม

วรรณกรรม

ดนตรี

อาหาร

สื่อสารมวลชน

วันหยุด

อ้างอิง

  1. "CIFRAS DE ENVEJECIMIENTO Y MIGRACIÓN MUESTRAN UN CHILE DISTINTO AL DE HACE UN DECENIO". POBLACIÓN PAÍS Y REGIONES – ACTUALIZACIÓN 2002–2012. National Statistics Institute. 4 September 2014. สืบค้นเมื่อ 4 September 2014.
  2. "Revisión del cuestionado Censo 2012 reduce población chilena a 16.341.929" (ภาษาSpanish). Emol. สืบค้นเมื่อ 26 February 2014.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  3. "Chile". World Bank.
  4. ข้อมูลประเทศเปรูจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุก ซีไอเอ (อังกฤษ)
  5. Brian Bell, Insight Guides : Chile, (New York : Langenscheidt Publishing, 2002), 24.
  6. Appletons' annual cyclopaedia and register of important events of the year: 1900. New York: Appletons. p. 87.

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล
การศึกษา
ด้านการท่องเที่ยว