ผู้ใช้:Pomznp/ทดลองเขียน

พิกัด: 01°12′28″N 77°16′38″W / 1.20778°N 77.27722°W / 1.20778; -77.27722
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม[แก้]

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม
IATA ICAO รหัสเรียก
SK SAS SCANDINAVIAN
ก่อตั้ง1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 (77 ปี)
เริ่มดำเนินงาน17 กันยายน ค.ศ. 1946 (77 ปี)
AOC #SCA.AOC.001E
ท่าหลัก
เมืองสำคัญ
สะสมไมล์ยูโรโบนัส
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ (จนถึง 31 สิงหาคม ค.ศ. 2024)[1]
สกายทีม (ตั้งแต่ 1 กันยายน ค.ศ. 2024)
บริษัทลูก
ขนาดฝูงบิน68 (เฉพาะฝูงบินหลัก)
จุดหมาย125[2] (ทั้งเครือข่าย)
บริษัทแม่
สำนักงานใหญ่สวีเดน สต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
บุคลากรหลักCarsten Dilling (ประธาน)
Anko van der Werff (ซีอีโอ)
เว็บไซต์www.flysas.com

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม[3] (อังกฤษ: Scandinavian Airlines System) ดำเนินงานในชื่อ สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ และรู้จักกันและย่อว่า เอสเอเอส (SAS) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก ที่มีฐานการบินที่ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา และท่าอากาศยานออสโลการ์เดอร์มอน และมีสำนักงานใหญ่ในสต็อกโฮล์ม เอสเอเอสให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 125 แห่งในยุโรป อเมริกาเหนือ แอฟริกา และเอเชียด้วยเครื่องบิน 134 ลำในฝูงบิน

สายการบินก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1946 เป็นกิจการค้าร่วมเพื่อดำเนินเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกของสแวนสก์อินเตร์คอนติเนนตัลลุฟท์ทรฟฟืคของสวีเดน เดนอร์ชเกลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาปของนอร์เวย์ และเดแดนส์กึลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาปของเดนมาร์ก โดยได้ดำเนินเที่ยวบินแรกในวันที่ 17 กันยายน[4] และได้มีการขยายเครือข่ายครอบคลุมทั้งยุโรปในอีกสองปีต่อมา ในปี 1951 ทั้งสามสายการบินควบรวมกิจการเพื่อก่อตั้งเอสเอเอสอย่างเป็นทางการ โดยได้มีการยกย่องว่าเป็น "สัญลักษณ์ของความร่วมมือระหว่างนอร์เวย์–สวีเดน–เดนมาร์ก"[5] เอสเอเอสเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ร่วมกับการบินไทย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ลุฟท์ฮันซ่า และแอร์แคนาดาในปี 1997[6] ในวันที่ 27 มิถุนานย ค.ศ. 2018 รัฐบาลนอร์เวย์ได้ประกาศขายหุ้นทั้งหมดในเอสเอเอส[7][8]

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2023 แอร์ฟรานซ์–เคแอลเอ็ม รัฐบาลเดนมาร์ก และบริษัทลงทุนอีกสองรายจะเข้ามาลงทุนในเอสเอเอส โดยแอร์ฟรานซ์–เคแอลเอ็มจะถือหุ้น 19.9%[9] ทำให้เอสเอเอสต้องออกจาการเป็นสมาชิกสตาร์อัลไลแอนซ์ในวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 2024[1] และเข้าร่วมสกายทีมในอีกหนึ่งวันต่อมา

ประวัติ[แก้]

สัญลักษณ์ดั้งเดิมของสายการบิน แสดงธงชาติของทั้งสามประเทศ

การก่อตั้ง[แก้]

ดักลาส ดีซี-4 เป็นเครื่องบินลำแรกที่ดำเนินการในชื่อเอสเอเอส (ค.ศ. 1940)

สายการบินก่อตั้งขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เมื่อสแวนสก์อินเตร์คอนติเนนตัลลุฟท์ทรฟฟืค (สายการบินสัญชาติสวีเดนของตระกูลวัลลันเบิร์ก) เดนอร์ชเกลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาป และเดแดนส์กึลุฟท์ฟาร์ตเซลซ์กกาป (สายการบินประจำชาตินอร์เวย์และเดนมาร์ก ณ ขณะนั้น) ได้สร้างความร่วมมือระหว่างกันเพื่อดำเนินเที่ยวบินระยะไกลจากทั้งสามประเทศร่วมกัน[10] โดยมี Per A. Norlin เป็นประธานคนแรก[11] สายการบินเริ่มดำเนินงานในวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1946 โดยมีเที่ยวบินแรกระหว่างสต็อกโฮล์มและนครนิวยอร์ก[12] ภายในครึ่งปีนั้นเอสเอเอสได้ทำลายสถิติโลกในการขนส่งสินค้าชิ้นเดียวที่มีน้ำหนักมาที่สุดข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกบนเครื่องบินโดยสารที่ดำเนินเที่ยวบินตามกำหนดการ โดยได้ขนส่งแผงไฟฟ้าน้ำหนัก 1,400 ปอนด์ (635 กิโลกรัม) จากนิวยอร์กสู่สวีเดนให้กับบริษัทซานด์วิค[13]

ในปี 1948 อาบีแอโรทรานสปอร์ต สายการบินประจำชาติสวีเดน ณ ขณะนั้นได้ประกาศเข้าร่วมกับเอสเอเอสและได้สร้างความร่วมือร่วมกันเพื่อดำเนินเที่ยวบินในทวีปยุโรป ในอีกสามปีต่อมา สายการบินทั้งหมดควบรวมกิจการเข้าด้วยกันเพื่อก่อตั้งกิจการค้าร่วมเอสเอเอสอย่างเป็นทางการ[12] โดยที่กรรมสิทธิ์ของบริษัทจะถูกแบ่งให้เอสเอเอส เดนมาร์ก (28.6%) เอสเอเอส นอร์จ (28.6%) และเอสเอเอส สวารีเย (42.8%) โดยทั้งหมด 50% จะถือครองโดยนักลงทุนเอกชน และอีก 50% จะถือครองโดยรัฐบาล[14]

เที่ยวบินขั้วโลก[แก้]

ในปี 1954 เอสเอเอสเป็นสายการบินแรกของโลกที่ดำเนินเที่ยวบินขั้วโลกโดยทำการบินจากโคเปนเฮเกนสู่ลอสแอนเจลิสด้วยเครื่องบินดักลาส ดีซี-6บี โดยมีจุดแวะพักในคังเกอร์ลุสสวก เกาะกรีนแลนด์และวินนิเพก ประเทศแคนาดา[15] By summer 1956, traffic on the route had justified the frequency to be increased to three flights per week. The service proved relatively popular with Hollywood celebrities and members of the film industry, and the route turned out to be a publicity coup for SAS. Thanks to a tariff structure that allowed free transit to other European destinations via Copenhagen, this trans-polar route gained increasing popularity with American tourists throughout the 1950s.[3]

In 1957, SAS was the first airline to offer around-the-world service over the North Pole via a second polar route served by Douglas DC-7Cs flying from Copenhagen to Tokyo via Anchorage International Airport in Alaska.[15] The flight via Alaska was a compromise solution since the Soviet Union would not allow SAS, among other air carriers, to fly across Siberia between Europe and Japan, and Chinese airspace was also closed.[3]

ยุคเครื่องบินไอพ่น[แก้]

ผู้โดยสารขณะกำลังขึ้นเครื่องบินดักลาส ดีซี-8 ของสายการบิน

เอสเอเอสเริ่มต้นยุคเครื่องบินไอพ่นตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดยได้สั่งซื้อซูว์ดาวียาซียงการาแวลสัญชาติฝรั่งเศสในปี 1959 เป็นเครื่องบินไอพ่นลำแรกของสายการบิน ในปีต่อๆ มา เอสเอเอสได้สั่งซื้อและนำดักลาส ดีซี-8 เข้ามาประจำการในฝูงบิน[ต้องการอ้างอิง]

นอกเหนือจากฝูงบินที่ทันสมัยแล้ว เอสเอเอสยังนำหลักปฏิบัติและระบบการปฏิบัติงานแบบใหม่มาใช้เพื่อปรับปรุงประสบการณ์ของลูกค้าอีกด้วย ในปี 1965 เอสเอเอสเป็นสายการบินแรกที่เริ่มใช้ระบบการจองทางอิเล็กทรอนิกส์[16] ในปี 1971เอสเอเอสได้นำเครื่องบินโบอิง 747 เครื่องบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ณ ขณะนั้นเข้าประจำการ[17] โดยก่อนหน้าการรับมอบเครื่อง 747 เอสเอเอสได้จัดตั้งกิจการค้าร่วมการซ่อมบำรุง เคเอสเอส ร่วมกับเคแอลเอ็มและสวิสแอร์ในปี 1969 เพื่อให้บริการการซ่อมบำรุงกับโบอิง 747 ของทั้งสามสายการบิน โดยต่อมาได้มีสายการบินอูว์เตอามาเข้าร่วมด้วย และได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น เคเอสเอสยู หลังมีการนำแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 เข้ามาประจำการ[18][19]

During its first decades, the airline built two large hotels in central Copenhagen, SAS Royal Hotel (5 stars) and the even larger SAS Hotel Scandinavia (4 stars, with a casino on the 26th floor).[16] In 1980, SAS opened its first hotel outside of Scandinavia, the SAS Kuwait Hotel. By 1989, SAS's hotel division owned a 40 percent share in the Intercontinental Hotels Group.[16] Following the deregulation of commercial aviation in Europe and the competitive pressures from new rivals, SAS experienced economic difficulties (as did many incumbent flag carrier airlines) this heavily contributed to the airline's decision to sell its hotel chain to the Radisson Hotel Group during 1992.[16]

การควบรวม การเข้าซื้อกิจการ และความร่วมมือ[แก้]

In 1981, Jan Carlzon was appointed as the CEO of SAS; during his tenure, the company underwent a successful financial turnaround of the company starting in 1981 and who envisioned SAS ownership of multiple airlines worldwide. SAS gradually acquired control of the domestic markets in all three countries; this was achieved by acquiring full or partial control of various competing local airlines, including Braathens and Widerøe in Norway; Linjeflyg and Skyways Express in Sweden; and Cimber Air in Denmark. During 1989, SAS acquired 18.4% of the Texas Air Corporation, the parent company of Continental Airlines, in a bid to form a global alliance. However, this did not come about and the stake in the Texas Air Corporation was subsequently sold on. During the 1990s, SAS also acquired a 20 percent stake in British Midland, as well as purchasing 95 percent of Spanair, the second-largest airline in Spain, in addition to Air Greenland.[ต้องการอ้างอิง]

During the early 1990s, SAS unsuccessfully tried to merge itself with KLM, along with Austrian Airlines and Swissair, in a proposed combined entity commonly called Alcazar.[20][21] However, months of negotiations towards this ambitious merger ultimately collapsed due to multiple unsettled issues; this strategic failure heavily contributed to the departure of Carlzon that same year and his replacement by Jan Reinås.[22] The airline marked its 50th year of operation on 1 August 1996 with the harmonization and name of SAS's parent company to SAS Danmark A/S, SAS Norge ASA and SAS Sverige AB.[23] ในเดือยพฤษภาคม ค.ศ. 1997 เอสเอเอสเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสตาร์อัลไลแอนซ์ พันธมิตรสายการบินแห่งแรกร่วมกับการบินไทย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ลุฟท์ฮันซ่า และแอร์แคนาดา[24]

In June 2001, the ownership structure of SAS was changed, with a holding company being created in which the holdings of the governments changed to Sweden (21.4%), Norway (14.3%), and Denmark (14.3%), while the remaining 50 percent of shares were publicly held and traded on the stock market.[23] During 2004, SAS was again restructured, being divided into four separate companies: SAS Scandinavian Airlines Sverige AB, SAS Scandinavian Airlines Danmark A/S, SAS Braathens AS, and SAS Scandinavian International AS. SAS Braathens was re-branded SAS Scandinavian Airlines Norge AS in 2007.[25][23] However, during October 2009, the four companies were once again united into one company, named SAS Scandinavian System AB.[ต้องการอ้างอิง]

การปรับปรุงองค์กร[แก้]

With the growth of budget airlines and decreasing fares in Scandinavia, the business experienced financial hardship. By 2009, competitive pressures had compelled the airline to launch a cost-cutting initiative. In the first step of which, the business sold its stakes in other companies, such as British Midland International, Spanair, and airBaltic, and began to restructure its operations.[26][27][28] During January 2009, an agreement to divest more than 80 percent of the holdings in Spanair was signed with a Catalan group of investors led by Consorci de Turisme de Barcelona and Catalana d'Inciatives.[29] These changes reportedly reduced the airliner's expenses by around 23 per cent between 2008 and 2011.[30]

In November 2012, the company came under heavy pressure from its owners and banks to implement even heavier cost-cutting measures as a condition for continued financial support. Negotiations with the respective trade unions took place for more than a week and exceeded the original deadline; in the end, an agreement was reached between SAS and the trade unions that would increase the work time, cutting employee's salaries by between 12 and 20 percent, along with reductions to the pension and retirement plans; these measures were aimed at keeping the airline as an operating concern. SAS criticized how it handled the negotiations, having reportedly denied facilities to the union delegations.[30]

During 2017, SAS announced that it was forming a new airline, Scandinavian Airlines Ireland, operating out of Heathrow Airport and Málaga Airport to fly European routes on its parent's behalf using nine Airbus A320neos.[31] SAS sought to replace its own aircraft with cheaper ones crewed and based outside Scandinavia to compete better with other airlines.[32][33] The Swedish Pilots Union expressed its dissatisfaction with the operational structure of the new airline, suggesting it violated the current labour-agreements.[34] The Swedish Cabin Crew Union also condemned the new venture and stated that SAS established the airline to "not pay decent salaries" to cabin crew.[35]

In 2018, SAS announced that it had placed an order for 50 Airbus A320neo narrow-body jetliners to facilitate the creation of a single-type fleet. That same year, the Norwegian government divested its stake in the airline.[36] As part of an environmental initiative launched by San Francisco International Airport (SFO), SAS flights operating out of SFO since December 2018 have been supplied with sustainable aviation fuel from Shell and SkyNRG.[37][38]

In July 2021, the European Commission has approved a Swedish and Danish aid measure of approximately US$356 million to support SAS.[39] In September 2021, SAS announced that it would establish two operating subsidiaries; SAS Connect and SAS Link, with its existing SAS Ireland subsidiary to be rebranded as the new SAS Connect, while SAS Link would initially operate the airline's Embraer E195 aircraft, and the operations of both companies to begin by early 2022.[40][41][42]

Following little progress with SAS's restructuring plan, SAS Forward, the Swedish government announced on 7 June 2022 that Sweden, which owns 21.8% of the company, would not inject new capital into SAS and that it did "not aim to be a long-term shareholder in the company".[43][44] The airline filed for Chapter 11 bankruptcy protection in the United States on 5 July 2022.[45]

In September 2022, SAS announced it was returning at least ten aircraft to lessors, including five long-haul aircraft - amongst them two barely two year old Airbus A350s. This measure is a result of the closure of Russian airspace for flights to Asia which caused a severe drop in demand and efficiency.[46] As of November 2022, SAS announced it was searching for a buyer for one of their Airbus A350 aircraft.[47]

In October 2023, it was announced that the Air France–KLM Group would be investing alongside the Danish government and two investment firms in SAS, with the airline group buying up to 20% of SAS shares following the airline's ongoing Chapter 11 process in the United States. With the investment (if approved by the EU Commission, and respective US and Swedish courts),[48] SAS will leave Star Alliance and join SkyTeam alongside Air France–KLM.[49] In April 2024, SAS announced to end its Star Alliance membership by 31 August 2024.[50]

กิจการองค์กร[แก้]

สำนักงานใหญ่[แก้]

เอสเอเอสโฟรซุนดาวีค สำนักงานใหญ๋ของเอสเอเอสในปัจจุบัน

เอสเอเอสมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในอาคารสำนักงานเอสเอเอสโฟรซุนดาวีคในสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน

ผลประกอบการ[แก้]

ผลประกอบการของเอสเอเอสระหว่างปี 2009-2020 มีดังนี้:

2009 2010 2011 2012

(ม.ค.-ต.ค.)

2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020
มูลค่าการซื้อขาย (ครูนาสวีเดน) 39,696 36,524 36,735 33,148 42,182 38,006 39,650 39,459 42,654 44,718 46,112 20,513
กไรก่อนภาษี (ครูนาสวีเดน) −1,522 −33 543 228 1,648 −918 1,417 1,431 1,725 2,041 794 −10,151
จำนวนพนักงาน (FTE มาตรฐาน) 14,438 13,723 13,479 13,591 14,127 12,329 11,288 10,710 10,324 10,146 10,445 7,568
จำนวนผู้โดยสาร (ล้านคน) 27.0 27.1 29.0 25.9 30.4 29.4 28.1 29.4 30.1 30.1 29.8 12.6
อัตราบรรทุกผู้โดยสาร (%) 72.7 75.6 74.9 76.7 75.0 76.9 76.3 76.0 76.8 75.7 75.2 60.5
จำนวนฝูงบิน (ณ สิ้นปี) 172 159 147 145 139 138 152 156 158 157 158 161
หมายเหตุ/อ้างอิง: [51] [52] [53] [a][55][56] [57] [58] [59] [59] [60] [b][61]

อัตลักษณ์องค์กร[แก้]

โลโก้[แก้]

เอสเอเอส

โลโก้ในปี 1998 ได้รับการออแบบโดยสต็อกโฮล์มดีไซน์แลป ซึ่งสัญลักษณ์ "SAS" จะถูกดัดแปลงเล็กน้อยตามการออกแบบลวดลายอากาศยานใหม่ด้วย

ลวดลายอากาศยาน[แก้]

OY-KBO ในลวดลายย้อนยุค

ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2019 เอสเอเอสได้เปิดตัวลวดลายใหม่[62] โดยจะเปิดตัวบนแอร์บัส เอ350 และเอ320นีโอ ก่อนที่จะเปิดตัวกับเครื่องบินลำอื่นๆ ในฝูงบิน เอสเอเอสว่าการทำสีเครื่องบินใหม่นี้จะเสร็จสิ้นภายในปี 2024 ในลวดลายนี้ ลำตัวเครื่องบินจะมีสีเบจอ่อนเหมือนกับลวดลายก่อนหน้า และจะมีโลโก้ "SAS" ในสีเงินขนาดใหญ่บริิเวณส่วนหน้าของลำตัวเครื่อง บริเวณส่วนหางจะมีแถบสีน้ำเงินโค้งยาวลงมาจนถึงท้องเครื่อง และมีโลโก้ของสายการบินขนาดเล็กสีขาวบริเวณแพนหาง บริเวณปลายปีกของเครื่องบินขะมีสีน้ำเงิน บริเวณเครื่องยนต์จะมีสีเบจเดียวกันกับลำตัวเครื่องบิน และจะมีแถบสีน้ำเงินบริเวณส่วนหน้า และบริเวณกลางเครื่องยนต์จะมีชื่อสายการบิน "Scandinavian" ในสีน้ำเงินเข้ม และใต้ท้องเครื่องจะมีชื่อสายการบินในลักษณะเดียวกัน[63][64]

ลวดลายก่อนหน้าที่ได้รับออกแบบโดย SthlmLab ได้เปิดตัวในปี 1998 โดยลำตัวเครื่องบินขะมีสีเบจอ่อน และบริวเณส่วนหน้า จะมีชื่อสายการบิน "Scandinavian" ในสีเงินอยู่ด้านบนหน้าต่างผู้โดยสาร และ "Airlines" อยู่ด้านล่างเป็นสีขาว บริเวณแพนหางและปลายปีกจะมีสีน้ำเงินจะมีสำีน้ำเงินและมีโลโก้สายการบินสีขาวอยู่It is a variant of the traditional SAS logotype, slimmed slightly and stylized by the design company Stockholm Design Lab as part of the SAS livery change. The engine casing is painted in scarlet (Pantone Warm Red/Pantone 179C) with the word Scandinavian in white, the thrust reversers in the color of the fuselage. All other text is painted in Pantone Warm Gray 9. The design also features stylized versions of the Scandinavian flags. All aircraft are named, traditionally after Vikings.

นอกเหนือจากลวดลายปกติแล้ว แอร์บัส เอ319 หนึ่งลำสวมลวดลายย้อนยุคของสายการบิน

จุดหมายปลายทาง[แก้]

ข้อตกลงการทำการบินร่วม[แก้]

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:

ข้อตกลงระหว่างสายการบิน[แก้]

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ได้ทำข้อตกลงระหว่างสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:

ฝูงบิน[แก้]

ฝูงบินปัจจุบัน[แก้]

ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2024 เอสเอเอสมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้ (รวมฝูงบินของสายการบินที่ดำเนินงานให้กับเอสเอเอส):[74][75][76]

ฝูงบินของสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม
เครื่องบิน ประจำการ คำสั่งซื้อ ผู้โดยสาร หมายเหตุ
C Y M รวม
แอร์บัส เอ319-100 4 150 150 สามลำสวมลวดลายสตาร์อัลไลแอนซ์ หนึ่งลำสวมลวดลายย้อนยุค[77]
แอร์บัส เอ320-200 11 168 168
แอร์บัส เอ320นีโอ 39 18[78][79] 180 180 ส่งมอบจนถึงปี 2025[78]
30 180 180 ให้บริการโดยเอสเอเอสคอนเน็ก[80]
แอร์บัส เอ321แอลอาร์[81] 3 22 12 123 157
แอร์บัส เอ330-300 8 32 56 178 266
แอร์บัส เอ350-900 4 2[82] 40 32 228 300 สั่งซื้อเพิ่มเติมสองลำและจะส่งมอบภายในปี 2024[82]
เอทีอาร์ 72-600 7 70 70 ให้บริการโดยเอกซ์ฟลาย
โบอิง 737-700 1 เคลื่อนย้ายผู้ป่วย ใช้เป็นเครื่องบินขนย้ายผู้ป่วยให้กับกองทัพนอร์เวย์และคณะกรรมการกิจการด้านสุขภาพและสังคมแห่งชาติ[83]
บอมบาร์ดิเอร์ ซีอาร์เจ900 6 88 88 ให้บริการโดยเอกซ์ฟลาย
1 88 88 ให้บริการโดยซิตีเจ็ต
10 90 90
เอ็มบราเออร์ อี195 4 114 114 ให้บริการโดยเอสเอเอสลิงก์[84][85]
4 120 120
2 122 122
รวม 134 20

เอสเอเอสมีอายุฝูงบินเฉลี่ย 8.8 ปี (ไม่รวมฝูงบินของสายการบินที่ดำเนินงานให้กับเอสเอเอส)

บริการ[แก้]

โปรแกรมสะสมไมล์[แก้]

เอสเอเอสได้จัดตั้งโปรแกรมสะสมไมล์ในชื่อ ยูโรโบนัส โดยสมาชิกจะได้รับคะแนนจากเที่ยวบินเอสเอเอสทั้งหมด เที่ยวบินไวเดอร์โรว์บางส่วนที่ไม่ทับซ้อนกับของเอสเอเอส (ยกเว้นปฏิบัติการบริการสาธารณะ) และเที่ยวบินของสายการบินในเครือสตาร์อัลไลแอนซ์ โปรแกรมยูโรโบนัสสร้างรายได้ให้แก่เอสเอเอสได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของรายได้รวมทั้งหมด ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โยูโรโบนัสมีสมาชิกมากกว่าสี่ล้านคน[86]

ห้องโดยสาร[แก้]

การบริการผู้โดยสารของเอสเอเอสบนเที่ยวบินในปี 1969

เอสเอเอสบิซเนส (ชั้นธุรกิจ)[แก้]

เอสเอเอสให้บริการที่นั่งชั้นธุรกิจ SAS Business ในเที่ยวบินระยะไกล บนเครื่องบินเอ330 และเอ350 จะมีการจัดเรียงที่นั่งแบบ 1-2-1 ที่นั่งจะสามารถกลางออกเป็นที่นอนราบได้ โดยจะกางได้ยาวถึง 196–202-เซนติเมตร (6.43–6.63-ฟุต) พร้อมกับปลั๊กไฟและหน้าจอความบันเทิงขนาด 15-นิ้ว (380-มิลลิเมตร) บนเอ321แอลอาร์ จะมีการจัดที่นั่งแบบ 2-2 และ 1-1 สลับกันและที่นั่งสามารถกางออกเป็นที่นอนราบได้[87]

เอสเอเอสพลัส (ชั้นประหยัดพรีเมียม)[แก้]

ที่นั่งชั้นประหยัดพรีเมยีม หรือ เอสเอเอสพลัส จะมีการจัดเรียงแบบ 2-3-2 และ 2-4-2 บนเครื่องเอ330 และ 2-2 บนเอ350 และเอ321แอลอาร์ ที่นั่งเอสเอเอสพลัสจะมขนาดที่นั่งกว้างว่าที่นั่งของเอสเอเอสโก

ในเที่ยวบินระยะใกล้หรือเที่ยวบินในยุโนป ตั๋วเอสเอเอสพลัสจะรวมอาหาร สิทธิการโหลกสัมภาระได้ถึงสองชิ้น สิทธิการใช้้องรับรองในท่าอากาศยาน และสามารถคืนเงินได้ในทุกกรณี ที่นั่งเอสเอเอสพลัสจะตั้งอยู่ด้านหน้าของที่นั่งชั้นประหยัดบนเครื่องบิน โดยผู้โดยสารสามารถเลือกที่นั่งได้ฟรี ที่นั่งจะมีลักษณะเหมือนกับของ เอสเอเอสโก หรือชั้นประหยัด สายการบินเริ่มใช้ระบบที่นั่งโดยสารสองชั้นในเที่ยวบินระยะใกล้ในเดือนมถุนายน ค.ศ. 2013 เมื่อเอสเอเอสยกเลิกที่นั่งชั้นธุรกิจในเที่ยวบินภายในทวีปทั้งหมด[88]

เอสเอเอสโก (ชั้นประหยัด)[แก้]

ที่นั่งชั้นประหยัด หรือ เอสเอเอสโก บนเที่ยวบินระยะใกล้จะจัดเรียงแบบ 3-3 แบบ 2-4-2 บนเอ330 และแบบ 3-3-3 บนเอ350

เอสเอเอสให้บริกาชาหรือกาแฟให้กับผู้โดยสารชั้นประหยัดบนเที่ยวบินระยะใกล้ ยกเว้นเที่ยวบินที่มีระยะใกล้พิเศษเช่น บาร์เกิน-สตาวังเงอร์ หรือ สต็อกโฮล์ม-วีสบี ในเที่ยวบินระยะไกลจะมีอาหารให้บริการให้กับผู้โดยสารทุกคน

เอสเอเอสโกไลท์[แก้]

ที่นั่งชั้น เอสเอเอสโกไลท์ เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของที่นั่งชั้นประหยัด เอสเอเอสโก โดยที่ไม่สามารถสัมภาระโหลดใต้ท้องเครื่องได้ การจำหน่ายตั๋วจะจำหน่ายคล้ายกันกับเอสเอเอสโก ณ วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2017 เอสเอเอสโกไลท์จะมีให้บริการทั้งเที่ยวบินระยะใกล้และระยะไกล เอสเอเอสเปิดตัวที่นั่งชั้นนี้เพื่อแข่งขันกับสายการบินราคาประหยัดสำหรับผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางด้วยกระเป๋าถือขึ้นเครื่องเท่านั้น ผู้โดยสารที่มีสิทธิสตาร์อัลไลแอนซ์โกลด์ และยูโรโบนัส ซิลเวอร์ โกลด์ หรือไดมอนต์จะไม่สามารถใช้สิทธิเพิ่มน้ำหนักกระเป๋าได้เว้นแต่ผู้โดยสารที่ถือสิทธิยูโรโบนัส แพนดิออนเท่านั้น

หมายเหตุ[แก้]

  1. ในปี 2012 บริษัทเปลี่ยนปีปีงบประมาณเป็นระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน – 31 ตุลาคมแทนปีปฏิทิน[54] ผลประกอบการก่อนหน้าจึงเป็นของช่วงเวลาก่อนวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปีจนถึงปี 2011สำหรับรอบ 10 เดือนถึงวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2012 และสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคมนับจากนั้นมา
  2. ผลประกอบการในปี 2020 ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการระบาดทั่วของโควิด-19[61]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 aerointernational.de - "SAS leaves Star Alliance" (German) 9 April 2024
  2. "SAS Scandinavian Airlines on ch-aviation.com". ch-aviation.com. สืบค้นเมื่อ 21 November 2023.
  3. 3.0 3.1 3.2 "History milestones - SAS". www.sasgroup.net.
  4. "SAS | Scandinavian Airlines – Book your next flight on Flysas.com". www.flysas.com (ภาษาอังกฤษ).
  5. "Fra krystall til papp – etter over 70 år selger staten seg ut av SAS". 27 June 2018. สืบค้นเมื่อ 3 October 2018.
  6. "Wayback Machine" (PDF). web.archive.org. 2008-11-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-11-25. สืบค้นเมื่อ 2021-12-20.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  7. Jacob-Phillips, Sherry (27 June 2018). "Norway sells remainder stake in SAS airline". Reuters.
  8. "Norway to sell remaining SAS airline stake". 27 June 2018.
  9. "SAS reaches major milestone in SAS FORWARD – announces the winning consortium, including details of the transaction structure - SAS". www.sasgroup.net (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-10-04.
  10. "Historie". SAS.
  11. "Presidents of SAS, beginning in 1946". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  12. 12.0 12.1 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  13. Lionel, Daniel (2 March 1947). "Along The Airways". Brooklyn Daily Eagle. สืบค้นเมื่อ 30 September 2020.
  14. Buraas, Anders (1979). The SAS Saga: A History of Scandinavian Airlines System. SAS. p. 13. ISBN 82-90212-00-3.
  15. 15.0 15.1 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  17. "SAS timeline More than 60 years in the sky" (PDF). flysas.com. สืบค้นเมื่อ 2 November 2014.
  18. "SAS: The United Nations of the Air". Boeing. สืบค้นเมื่อ June 26, 2023.
  19. Otto, K. (10 July 2022). "The rise and fall of Swissair". Key.Aero.
  20. "4 European Air Carriers Scrap Plan for Merger: Transportation: The airlines had hoped to form a 'fortress' to compete with lower-cost flights". Los Angeles Times. Times Wire Services. 22 November 1993.
  21. Ruigrok, Winfried (2004). "A tale of strategic and governance errors: the failings which caused the demise of Swissair were aggravated by the convergence of several industry developments". European Business Forum (Spring).
  22. "Presidents of SAS, beginning in 1946". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  23. 23.0 23.1 23.2 "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  24. Tagliabue, John (15 May 1997). "5 Airlines Extend Limits of Alliances". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 16 October 2010.
  25. "Press Release: SAS Braathens to be renamed SAS Norge". Waymaker (via SAS Group Press Release Archive). สืบค้นเมื่อ 23 March 2010.
  26. Nicholson, Chris V. (1 October 2009). "SAS Sells Remaining Stake in BMI to Lufthansa". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  27. Roberts, Martin; และคณะ (30 January 2009). "SAS sells Spanair for 1 euro, takes big charge". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 August 2014. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  28. "Company history". airBaltic.com. airBaltic. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2013. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  29. "SAS – press release (in Swedish)". Cision Wire. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2009. สืบค้นเมื่อ 30 January 2009.
  30. 30.0 30.1 "Nightmare for trade unions in Copenhagen". Dagens Industri. 19 November 2012. สืบค้นเมื่อ 17 December 2012.
  31. O'Halloran, Barry (28 February 2017). "SAS Irish subsidiary to begin flights in November". The Irish Times. Dublin. สืบค้นเมื่อ 29 May 2018.
  32. Sumers, Brian (14 June 2017). "Why Scandinavia's SAS Is Creating a New Airline With the Same Name in Ireland". Skift. สืบค้นเมื่อ 29 May 2018.
  33. Burke-Kennedy, Eoin (7 May 2017). "Aviation recruitment firm creates 80 new jobs as part of Irish expansion". The Irish Times. Dublin. สืบค้นเมื่อ 29 May 2018.
  34. "Facket om nya SAS-bolaget". Svenska Dagbladet (ภาษาสวีเดน). Stockholm: Schibsted Media Group. 16 November 2017. สืบค้นเมื่อ 14 January 2018.
  35. "SAS ger personalen usla villkor". Svenska Dagbladet (ภาษาสวีเดน). Stockholm: Schibsted Media Group. 23 November 2017. สืบค้นเมื่อ 31 January 2018.
  36. "History milestones". SAS. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020.
  37. "Shell starts supplying sustainable fuel at Californian airport". Biofuels International (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 12 December 2018. สืบค้นเมื่อ 25 April 2019.
  38. Bates, Joe. "Sustainable aviation fuel available at San Francisco International Airport". www.airport-world.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 April 2019. สืบค้นเมื่อ 25 April 2019.
  39. "State aid: Commission approves €300 million Swedish and Danish subsidised interest rate loans to SAS in context of coronavirus outbreak". AVIATOR (ภาษาอังกฤษ). 2021-07-13. สืบค้นเมื่อ 2021-07-21.
  40. "SAS to launch two new subsidiaries". ch-aviation. 1 October 2021.
  41. Kiminski-Morrow, David (30 November 2021). "SAS to introduce new Connect and Link operating arms at Copenhagen". FlightGlobal. DVV Media Group. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.
  42. "SAS to launch Connect, Link brands in 1Q22". ch-aviation. 3 December 2021. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.
  43. Terje Solsvik, Stine Jacobsen (7 มิถุนายน 2565). "Airline SAS will get no more cash from Swedish government". Reuters. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2565. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  44. Ildor, Astrid (2022-06-07). "Svensk SAS-melding efterlader Danmark med stort problem" (ภาษาเดนมาร์ก). DR. สืบค้นเมื่อ 2022-06-07.
  45. "SAS søker konkursbeskyttelse i USA" (ภาษานอร์เวย์บุคมอล). NRK. 5 July 2022. สืบค้นเมื่อ 5 July 2022.
  46. flightglobal.com - SAS seeks to shed A350s and A330s as part of fleet-restructuring plan 6 September 2022
  47. aero.de - "Who's gonna buy a nearly new A350 from SAS?" (German) 9 November 2022
  48. Schlappig, Ben (2023-10-03). "Scandinavian Airlines Joining SkyTeam, Getting Air France-KLM Investment". One Mile at a Time (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-10-04.
  49. "Scandinavian airline SAS says Castlelake, Air France-KLM to become new shareholders". reuters. 3 October 2023. สืบค้นเมื่อ 3 October 2023.
  50. aerointernational.de - "SAS leaves Star Alliance" (German) 9 April 2024
  51. "SAS Group Annual report 2009" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.
  52. "Annual Report & Sustainability Report 2010" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 13 December 2011.
  53. "Annual Report & Sustainability Report 2011" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 24 August 2012.
  54. "Resolutions approved by the 2012 Annual General Shareholders' Meeting of SAS AB". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 24 August 2012.
  55. "SAS Group: Year-end report January – October 2012" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 30 December 2012.
  56. "SAS Group: Y4th Quarter 2012" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.
  57. "SAS Group Year-end report November2012 – October2013" (PDF). SAS Group. สืบค้นเมื่อ 14 March 2014.
  58. "SAS Group Annual Report with Sustainability Review November 2013 – October 2014" (PDF). SAS Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 17 April 2022. สืบค้นเมื่อ 1 March 2015.
  59. 59.0 59.1 "SAS Annual Report Fiscal Year 2018" (PDF). SAS Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 December 2022. สืบค้นเมื่อ 30 August 2019.
  60. "SAS Annual and Sustainability Report Fiscal Year 2019" (PDF). SAS Group. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 21 May 2020.
  61. 61.0 61.1 "SAS Annual and Sustainability Report Fiscal Year 2020" (PDF). SAS Group. 1 February 2021. สืบค้นเมื่อ 28 December 2021.
  62. "The Scandinavian Way". www.flysas.com. Scandinavian Airlines System. สืบค้นเมื่อ 20 September 2019.
  63. "Fleet". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 14 October 2020.
  64. "Aircraft on order". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 14 October 2020.
  65. https://www.aeroroutes.com/eng/240417-ska3codeshare
  66. Liu, Jim (24 May 2019). "airBaltic resumes SAS codeshare partnership from June 2019". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 24 May 2019.
  67. "El Al / SAS Begins Codeshare Partnership From Feb 2024". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). 29 January 2024. สืบค้นเมื่อ 29 January 2024.
  68. "Etihad / SAS resumes codeshare partnership fron Jan 2024". aeroroutes.com. 25 December 2023.
  69. "SAS Resumes LOT Polish Airlines Codeshare in NW23".
  70. Liu, Jim (27 March 2017). "Luxair / SAS begins codeshare service from March 2017". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 6 January 2020.
  71. Orban, André (2024-03-25). "SAS and Turkish Airlines terminate codeshare deal". Aviation24.be (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2024-03-26.
  72. "Air Greenland and SAS Enters a New and Enhanced Cooperation". Airgreenland.com. 21 August 2013. สืบค้นเมื่อ 17 March 2014.
  73. "Interline and Codeshare Travel". Pakistan International Airlines.
  74. https://www.sasgroup.net/files/Main/290/3827810/sas-q3-2023_eng.pdf
  75. "Fleet". SAS Group. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
  76. "SAS Fleet in Planespotters.net". planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
  77. flightglobal.com - Picture: Sneak preview of SAS retro livery, appearing on an Airbus A319 in Finkenwerder 27 July 2006
  78. 78.0 78.1 "SAS places order for an additional 50 Airbus A320neo aircraft to create a single-type fleet - SAS". SAS. สืบค้นเมื่อ 3 October 2018.
  79. https://www.sasgroup.net/files/documents/financial-reports/2023-q3/SAS_Q3_2023_presentation.pdf
  80. "Latest Register and Monthly Changes". www.iaa.ie. สืบค้นเมื่อ 2022-11-10.
  81. "SAS expands its fleet – leases three A321 Long Range - SAS". SAS. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  82. 82.0 82.1 ch-aviation.com - Ex-SAS A350-900 up for sale 6 June 2023
  83. "Final SAS Boeing 737 Becomes A Medevac Aircraft". Simple Flying. 6 February 2024.
  84. "SAS skal have Embraer-fly". 23 September 2021.
  85. "Sweden's SAS Link adds first E195". Ch-Aviation. 21 December 2021.
  86. "SAS celebrates four million EuroBonus members". 21 August 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 August 2015.
  87. "First New A321LR to Enter SAS Fleet". SAS. สืบค้นเมื่อ 17 September 2020.
  88. Elliott, Mark. "SAS revamps cabin classes". Travel Daily Media. สืบค้นเมื่อ 12 June 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


บอนซา[แก้]

บอนซา
IATA ICAO รหัสเรียก
AB BNZ BONZA
ก่อตั้งตุลาคม ค.ศ. 2021 (2 ปี)
เริ่มดำเนินงาน31 มกราคม ค.ศ. 2023 (1 ปี)
ท่าหลักโกลด์โคสต์
เมลเบิร์น
ซันชายน์โคสต์
ขนาดฝูงบิน4
จุดหมาย21
บริษัทแม่777พาร์ทเนอร์ส
สำนักงานใหญ่ออสเตรเลีย ซันชายน์โคสต์ รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย
บุคลากรหลักทิม จอร์แดน (ผู้ก่อตั้งและซีอีโอ)
เว็บไซต์www.flybonza.com

บอนซา (อังกฤษ: Bonza) เป็นสายการบินราคาประหยัดสัญชาติออสเตรเลีย

จุดหมายปลายทาง[แก้]

ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2024 บอนซาให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทางต่างๆ ดังต่อไปนี้:

รัฐ เมือง ท่าอากาศยาน หมายเหตุ
รัฐนิวเซาท์เวลส์ Albury Albury Airport
Coffs Harbour Coffs Harbour Airport ยกเลิกแล้ว
Newcastle Newcastle Airport
Port Macquarie Port Macquarie Airport
Tamworth Tamworth Airport
รัฐนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี Alice Springs Alice Springs Airport
ดาร์วิน ท่าอากาศยานนานาชาติดาร์วิน
รัฐควีนส์แลนด์ Bundaberg Bundaberg Airport
Cairns Cairns Airport
Gladstone Gladstone Airport
โกลด์โคสต์ ท่าอากาศยานโกลด์โคสต์ ฐานการบิน
Mackay Mackay Airport
Mount Isa Mount Isa Airport
Proserpine Whitsunday Coast Airport
Rockhampton Rockhampton Airport
ซันชายน์โคสต์ ท่าอากาศยานซันชายน์โคสต์ ฐานการบิน
Toowoomba Toowoomba Wellcamp Airport
Townsville Townsville Airport
รัฐแทสเมเนีย Launceston Launceston Airport
รัฐวิกตอเรีย เมลเบิร์น / กีลอง ท่าอากาศยานอวาลอน
เมลเบิร์น ท่าอากาศยานเมลเบิร์น ฐานการบิน
Mildura Mildura Airport

ฝูงบิน[แก้]

โบอิง 737 แมกซ์ 8 ของบอนซา

ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2024 บอนซามีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[1]

ฝูงบินของบอนซา
เครื่องบิน ประจำการ คำสั่งซื้อ ผู้โดยสาร หมายเหตุ
โบอิง 737 แมกซ์ 8 4 186
รวม 4

อ้างอิง[แก้]

  1. "Bonza Airline Fleet Details and History". Planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 21 November 2023.

ปัสโต (ประเทศโคลอมเบีย)[แก้]

ซานฮวนเดปัสโต

บัสตอก[1]
เทศบาลและเมือง
ซานฮวนเดปัสโต
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: ภาพมุมสูงของปัสโต ใกล้ภูเขาไฟกาเลรัส, กาเตรดัลเดปัสโต; จัตุรัสเมืองปัสโต, ศาลาว่าการปัสโต, ขบวนพาเหรดในเทศกาลดำขาว, โรงละครอิมพีเรียล และโบสถ์ซาน เฟลิเป เนริ
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: ภาพมุมสูงของปัสโต ใกล้ภูเขาไฟกาเลรัส, กาเตรดัลเดปัสโต; จัตุรัสเมืองปัสโต, ศาลาว่าการปัสโต, ขบวนพาเหรดในเทศกาลดำขาว, โรงละครอิมพีเรียล และโบสถ์ซาน เฟลิเป เนริ
ธงของซานฮวนเดปัสโต
ธง
ตราราชการของซานฮวนเดปัสโต
ตราอาร์ม
สมญา: 
Ciudad Sorpresa (Surprise City)
Ciudad Teológica (Theological City)
Tierra del Galeras (Galeras's Land)
คำขวัญ: 
"Muy Noble Y Muy Leal Ciudad de San Juan de Pasto"
(ผู้สูงศักดิ์และภักดีแห่งเมืองซานฮวนเดปัสโต)
แผนที่จังหวัดนาริญโญเน้นเทศบาลซานฮวนเดปัสโต (สีแดงอ่อน) และเมืองปัสโต (สีแดงเข้ม)
แผนที่จังหวัดนาริญโญเน้นเทศบาลซานฮวนเดปัสโต (สีแดงอ่อน) และเมืองปัสโต (สีแดงเข้ม)
ซานฮวนเดปัสโตตั้งอยู่ในโคลอมเบีย
ซานฮวนเดปัสโต
ซานฮวนเดปัสโต
ที่ตั้งในประเทศโคลอมเบีย
พิกัด: 01°12′28″N 77°16′38″W / 1.20778°N 77.27722°W / 1.20778; -77.27722
ประเทศธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ภูมิภาคภูมิภาคแปซิฟิค/ภูมิภาคแอนดีส
จังหวัดนาริญโญ
ก่อตัั้งค.ศ. 1537
จัดตั้ง24 มิถุนายน ค.ศ. 1539 (หุบเขาอาตริซ)
ผู้ก่อตั้งเซบัสเตียน เด เบลาลคาซาร์
ตั้งชื่อจากยอห์นผู้ให้บัพติศมา
การปกครอง
 • ประเภทเทศบาล
 • นายกเทศมนตรีเปโดร บิเซนเต โอบานโด
พื้นที่
 • เทศบาลและเมือง1,099 ตร.กม. (424 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง25.07 ตร.กม. (9.68 ตร.ไมล์)
ความสูง2,527 เมตร (8,291 ฟุต)
ประชากร
 (ค.ศ. 2018)[2][3]
 • เทศบาลและเมือง392,930 คน
 • ความหนาแน่น360 คน/ตร.กม. (930 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง308,095 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง12,000 คน/ตร.กม. (32,000 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมปัสตูโซ
เขตเวลาUTC-5 (เขตเวลาตะวันออก)
รหัสไปรษณีย์520001-520099
รหัสพื้นที่57 + 2
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ (ในภาษาสเปน)

ปัสโต (สเปน: Pasto) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซานฮวนเดปัสโต (สเปน: San Juan de Pasto) เป็นเทศบาลและเมืองหลวงของจังหวัดนาริญโญของประเทศโคลอมเบีย โดยตั้งอยู่ใกล้กับภูเขาไฟกาเลรัสในหุบเขาอาตริซทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศในภูมิภาคแอนดีส

ประวัติ[แก้]

ปัสโตก่อตั้งขึ้นในปี 1537 โดย Sebastián de Belalcázar ผู้พิชิตชาวสเปน ในปี ค.ศ. 1539 ลอเรนโซ เด อัลดานา ซึ่งเป็นผู้พิชิตชาวสเปนเช่นกัน ได้ย้ายเมืองไปยังที่ตั้งปัจจุบัน และสถาปนาภายใต้ชื่อ "ซานฮวนเดปัสโต" ผู้สนับสนุนหลักต่อเศรษฐกิจและการขยายตัวของ Pasto คือชายชาวอิตาลีชื่อ Guido Bucheli

ปัสโตเป็นศูนย์กลางการปกครอง วัฒนธรรม และศาสนาของภูมิภาคมาตั้งแต่สมัยอาณานิคม ด้วยเหตุนี้ เมืองนี้จึงได้ชื่อว่าเป็นเมืองศาสนศาสตร์แห่งโคลอมเบีย ในช่วงสงครามประกาศอิสรภาพกับสเปน ปัสโตเป็นเมืองที่นับถือกษัตริย์ ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากจุดยืนทางการเมืองนี้ และเนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ หลังจากได้รับเอกราช ปาสโตยังคงโดดเดี่ยวจากส่วนที่เหลือของโคลอมเบียเป็นเวลานาน

ชื่อ[แก้]

นิรุกติศาสตร์ของคำว่า Pasto สามารถสืบย้อนไปถึงคนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้เมื่อการมาถึงของผู้พิชิตชาวสเปนคือ Pastos อย่างไรก็ตาม หุบเขา Atriz เองก็เป็นที่อยู่อาศัยของ Quillacingas ในการสำรวจสำมะโนประชากรโคลอมเบียปี 2018 มีผู้คน 163,873 คนที่ระบุตนเองว่าเป็นพาสต้า และในการสำรวจสำมะโนประชากรเอกวาดอร์ปี 2010 มีผู้คน 1,409 คนที่ระบุตนเองว่าเป็นพาสต้า

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิประเทศ[แก้]

พื้นที่ส่วนใหญ่ของปัสโตมีความสูงระหว่าง 2,520 เมตร (8,270 ฟุต) ถึง 2,700 เมตร (8,900 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเล ในขณะที่ชุมชนบางแห่งสูงกว่า 3,000 เมตร (9,800 ฟุต) บนด้านข้างของภูเขาไฟกาเลรัส ซึ่งอยู่ที่ 4,276 เมตร (14,029 ฟุต)

ภาพมุมสูงของปัสโต ถ่ายจากทิศเหนือ

ภูมิอากาศ[แก้]

ภายใต้การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน ปัสโตมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนในฤดูร้อนที่อบอุ่นซึ่งได้รับอิทธิพลจากความสูงจากระดับน้ำทะเล ซึ่งมีแนวโน้มที่จะมีฤดูฝนในซีกโลกใต้ เช่น ส่วนของกีโตซึ่งอยู่ทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร ปัสโตมีอุณหภูมิค่อนข้างสม่ำเสมอตลอดทั้งปี แม้ว่าเมืองนี้จะตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร เนื่องจากมีระดับความสูงสูง อุณหภูมิเฉลี่ยที่สูงของปาสโตโดยทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 15 ถึง 18 °C (59.0 ถึง 64.4 °F) ในขณะที่อุณหภูมิต่ำโดยเฉลี่ยมักจะอยู่ระหว่าง 9 ถึง 11 ° C (48.2 และ 51.8 °F) Pasto มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 800 มิลลิเมตรหรือ 31 นิ้วต่อปี

ข้อมูลภูมิอากาศของปัสโต ประเทศโคลอมเบีย (ค.ศ. 1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 25.2
(77.4)
24.7
(76.5)
22.0
(71.6)
23.1
(73.6)
22.3
(72.1)
23.1
(73.6)
21.7
(71.1)
23.0
(73.4)
23.0
(73.4)
24.0
(75.2)
23.2
(73.8)
23.1
(73.6)
25.2
(77.4)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 17.0
(62.6)
17.2
(63)
17.3
(63.1)
17.5
(63.5)
17.4
(63.3)
16.8
(62.2)
16.3
(61.3)
16.7
(62.1)
17.5
(63.5)
17.8
(64)
17.4
(63.3)
17.3
(63.1)
17.2
(63)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 12.9
(55.2)
13.1
(55.6)
13.1
(55.6)
13.3
(55.9)
13.3
(55.9)
12.9
(55.2)
12.4
(54.3)
12.5
(54.5)
12.9
(55.2)
13.0
(55.4)
12.9
(55.2)
12.9
(55.2)
12.9
(55.2)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 9.5
(49.1)
9.6
(49.3)
9.7
(49.5)
10.0
(50)
10.1
(50.2)
10.0
(50)
9.4
(48.9)
9.4
(48.9)
9.3
(48.7)
9.4
(48.9)
9.6
(49.3)
9.6
(49.3)
9.6
(49.3)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 3.5
(38.3)
1.0
(33.8)
1.3
(34.3)
1.2
(34.2)
4.5
(40.1)
3.4
(38.1)
3.0
(37.4)
3.8
(38.8)
3.6
(38.5)
1.0
(33.8)
4.4
(39.9)
0.0
(32)
0.0
(32)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 69.1
(2.72)
65.7
(2.587)
81.1
(3.193)
87.1
(3.429)
77.6
(3.055)
44.7
(1.76)
32.8
(1.291)
25.0
(0.984)
63.9
(2.516)
95.5
(3.76)
101.1
(3.98)
82.9
(3.264)
826.5
(32.539)
ความชื้นร้อยละ 82 81 83 82 81 79 77 74 75 79 83 83 80
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 1 mm) 17 16 19 20 20 17 15 14 14 17 19 20 208
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 111.6 87.6 83.7 84.0 93.0 102.0 111.6 111.6 99.0 102.3 105.0 108.5 1,199.9
แหล่งที่มา: Instituto de Hidrologia Meteorologia y Estudios Ambientales[4][5][6]

การบริหารราชการ[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

การศึกษา[แก้]

มีมหาวิทยาลัยหลายแห่งที่มีนักศึกษาจาก Pasto และจากเมืองอื่นๆ ในNariño บางแห่ง ได้แก่:

  • มหาวิทยาลัยนาริญโญ
  • มหาวิทยาลัยแมเรียน
  • มหาวิทยาลัยสหกรณ์โคลัมเบีย
  • มูลนิธิมหาวิทยาลัยซานมาร์ติน[9]
  • สถาบันมหาวิทยาลัยเซสมัก
  • มหาวิทยาลัยอันโตนิโอ นาริโน
  • มหาวิทยาลัยเปิดและทางไกลแห่งชาติ - UNAD
  • โรงเรียนอุดมศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ - ESAP
  • บริษัทมหาวิทยาลัยอิสระแห่งNariño[10]

สาธารณสุข[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

ในเขตเทศบาล 11.1% ของสถานประกอบการอุทิศให้กับอุตสาหกรรม 56.0% เพื่อการค้า; การบริการ 28.9% และ 4.1% สำหรับกิจกรรมอื่น ๆ

ในเขตเมือง กิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมการค้าและบริการ รวมถึงธุรกิจขนาดเล็กบางแห่ง ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งเป็นการผลิตงานฝีมือ บริษัทขนาดใหญ่ใน Nariño ตั้งอยู่ใน Pasto และส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร เครื่องดื่ม และเฟอร์นิเจอร์ สำหรับการพัฒนาการค้าส่วนใหญ่กับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเอกวาดอร์มีศูนย์การค้าหลายแห่ง หอการค้า Pasto ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2461 และตามรายงานประจำปี พ.ศ. 2551 มีสถานประกอบการเชิงพาณิชย์ 14,066 แห่ง โดย 58.5% ประกอบการค้าและซ่อมแซมยานพาหนะ ในพื้นที่ชนบท ส่วนใหญ่จะมีการทำฟาร์มและการเลี้ยงปศุสัตว์ เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ขนาดเล็ก[7]

การท่องเที่ยว[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ทางบก[แก้]

ทางน้ำ[แก้]

ทางอากาศ[แก้]

ปัสโตมีท่าอากาศยานแอนโตนิโอนาริโญญเป็นท่าอากาศยานหลัก โดยตั้งอยู่ในชาชากวี ห่างจากปัสโต 35 กิโลเมตร โดยมีอาเบียงกาเป็นสายการบินผู้ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ

วัฒนธรรม[แก้]

ศิลปะและเทศกาล[แก้]

หนึ่งในเทศกาลที่สำคัญที่สุดของปัสโต คือ เทศกาลดำขาว

อาหาร[แก้]

กีฬา[แก้]

เมืองพี่น้อง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. O'Brien, Colleen Alena (2018). A Grammatical Description of Kamsá, A Language Isolate of Colombia (PDF).
  2. "Información Capital" (PDF). National Administrative Department of Statistics (ภาษาสเปน). 2019. p. 99. Población Total Ajustada [Total Adjusted Population]: 392.930
  3. Citypopulation.de Population of Pasto municipality with localities
  4. "Promedios Climatológicos 1981–2010" (ภาษาสเปน). Instituto de Hidrologia Meteorologia y Estudios Ambientales. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2016. สืบค้นเมื่อ 16 August 2016.
  5. "Promedios Climatológicos 1971–2000" (ภาษาสเปน). Instituto de Hidrologia Meteorologia y Estudios Ambientales. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2016. สืบค้นเมื่อ 16 August 2016.
  6. "Tiempo y Clima" (ภาษาสเปน). Instituto de Hidrologia Meteorologia y Estudios Ambientales. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2016. สืบค้นเมื่อ 16 August 2016.


ท่าอากาศยานและอวกาศยานโมฮาวี[แก้]

ท่าอากาศยานและอวกาศยานโมฮาวี

Mojave Air and Space Port
โมฮาวีในปี ค.ศ. 2023
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
เจ้าของแอร์พอร์ตดิสทริค
ผู้ดำเนินงานอีสต์เคอร์นแอร์พอร์ตดิสทริค
พื้นที่บริการโมฮาวี
สถานที่ตั้งโมฮาวี รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ
วันที่เปิดใช้งานค.ศ. 1935
ฐานการบินเวอร์จินกาแลกติก
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล854 เมตร / 2,801 ฟุต
พิกัด35°03′34″N 118°09′06″W / 35.05944°N 118.15167°W / 35.05944; -118.15167
เว็บไซต์www.mojaveairport.com
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
12/30 3,811 12,503 แอสฟอลต์คอนกรีต
08/26 2,149 7,049 แอสฟอลต์
04/22 1,447 4,746 แอสฟอลต์

ท่าอากาศยานและอวกาศยานโมฮาวี ณ ทุ่งรูทัน[2] (อังกฤษ: Mojave Air and Space Port at Rutan Field) (IATA: MHVICAO: KMHV) เป็นท่าอากาศยานและท่าอวกาศยานที่ตั้งอยู่ในโมฮาวี รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ ดำเนินการเป็นท่าอากาศยาน

ประวัติ[แก้]

ตราสัญลักษณ์เอ็มซีเอเอสโมฮาวีบนหน้าไม้ขีดไฟ

ในปี 1935 เทศมณฑลเคอร์นได้จัดตั้ง ท่าอากาศยานโมฮาวี ขึ้น ห่างจากโมฮาวี รัฐแคลิฟอร์เนียทางตะวันออกประมาณ 0.8 กิโลเมตร (0.5 ไมล์) เพื่อให้บริการกิจการเหมืองแร่ทองคำและเงินในพื้นที่ โดยเริ่มแรกมีทางวิ่งดินสองเส้น แต่ไม่มีจุดบริการเชื้อเพลิงหรือสิ่งอำนวยความสะดวกใดๆ ในปี 1941 คณะกรรมการการบินพลเรือน (ซีเอบี) ได้เข้ามาปรับปรุงท่าอากาศยานเพื่อใช้ในการทหาร โดยได้สร้างทางวิ่งแอสฟอล์ตสองเส้นที่ความยาว 1,372 เมตรและกว้าง 46 เมตร (ยาว 4,500 ฟุต, กว้าง 150 ฟุต) และทางขับเครื่องบิน โดยเทศมณฑลเคอร์นได้อนุญาตให้ซีเอบีเข้ามาใช้ท่าอากาศยานในช่วงสงคราม[3]

หลังการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1941 เหล่านาวิกโยธินสหรัฐได้เข้มาใช้ท่าอากาศยาน โดยได้จัดตั้งเป็น

กิจกรรม[แก้]

โครงการทดสอบ[แก้]

สมุดภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. FAA Airport Master Record for MHV (Form 5010 PDF), effective June 21, 2018.
  2. Editor, Curt Epstein • Senior. "Mojave Airport Honors Rutan Name | AIN". Aviation International News. {{cite web}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  3. "Historic California Posts: Marine Corps Air Station, Mojave". web.archive.org. 2015-04-24.

เมฆิกานาเดอาเบียซิออน[แก้]

เมฆิกานาเดอาเบียซิออน
IATA ICAO รหัสเรียก
MX MXA MEXICANA
ก่อตั้ง12 กรกฎาคม ค.ศ. 1921 (102 ปี)
เริ่มดำเนินงาน30 สิงหาคม ค.ศ. 1921 (102 ปี)
เลิกดำเนินงาน28 สิงหาคม ค.ศ. 2010 (13 ปี)
ท่าหลักกังกุน
เม็กซิโกซิตี–นานาชาติ
กัวดาลาฮารา
เมืองสำคัญชิคาโก–โอแฮร์
ลอสแอนเจลิส
โมเรเลีย
ติฆัวนา
ซากาเตกัส
สะสมไมล์เมฆิกานาโก
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ (ค.ศ. 2000–2004)
วันเวิลด์ (ค.ศ. 2009–2010)
บริษัทลูกอาเอโรการีเบ
อาเอโรมอนเตร์เรย์
เมฆิกานาการ์โก
เมฆิกานากลิก
เมฆิกานาลิงก์
บริษัทแม่เซเดนา
สำนักงานใหญ่เม็กซิโก อาคารเมฆิกานาเดอาเบียซิออน เม็กซิโกซิตี, ประเทศเม็กซิโก
บุคลากรหลักเฆราร์โด บาดิน
เว็บไซต์www.mexicana.gob.mx

เมฆิกานาเดอาเบียซิออน (สเปน: Mexicana de Aviación) เรียกโดยทั่วไปว่า เมฆิกานา เป็นสายการบินที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศเม็กซิโก โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1921 ก่อนที่จะเลิกดำเนินการในปี 2010 เมฆิกานาเคยเป็นสายการบินแห่งชาติและสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ

ในปี 2023 เซเดนา–ภายใต้กระทรวงกลาโหม ได้ทำการฟื้นฟูกิจการของสายการบินอีกครั้ง[1][2] โดยใช้ชื่ออาเอโรลิเนอาเดลเอสตาโดเมฆิกาโน ซึ่งเริ่มดำเนินการในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2023 ด้วยชื่อเมฆิกานาเช่นเดิม[3][4][5]

ประวัติ[แก้]

แอร์บัส เอ319 ของเมฆิกานาขณะลงจอดที่ท่าอากาศยานแวนคูเวอร์ (2001)

เมฆิกานาเป็นสายการบินแรกของประเทศเม็กซิโก เป็นสายการบินที่เก่าที่สุดในอเมริกาเหนือและเป็นอันดับที่สี่ของโลกที่ดำเนินการในชื่อเดิม ตามหลังเคแอลเอ็มของเนเธอร์แลนด์ อาเบียงกาของโคลอมเบีย และควอนตัสของออสเตรเลีย นอกเหนือจากการดำเนินการภายในประเทศของสายการบินแล้วเมฆิกานายังให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทางระหว่างประเทศในอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง หมู่เกาะแคริบเบียน อเมริกาใต้ และยุโรป โดยมีฐานการบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติเบนิโต ฆัวเรซในเม็กซิโกซิตี และมีท่ารองที่ท่าอากาศยานนานาชาติกังกุนและท่าอากาศยานนานาชาติมิเกล อิดัลโก อี โกสติยาในกัวดาลาฮารา[6]

เมฆิกานาแข่งขันกับอาเอโรเมฆิโก (ถึงแม้เมฆิกานาจะมีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินในบางเส้นทางก็ตาม) และสายการบินราคาประหยัดอย่างโบลาริสและอินเตร์เฆต

ในปี 2009 เมฆิกานากรุ๊ป (รวมเมฆิกานากลิกและเมฆิกานาลิงก์) ได้ขนส่งผู้โดยสารกว่า 11 ล้านคน (6.6 ล้านในเที่ยวบินภายในประเทศและ 4.5 ในเที่ยวบินระหว่างประเทศ) ด้วยเครื่องบิน 110 ลำในฝูงบิน[7]

หลังจากเริ่มเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรสตาร์อัลไลแอนซ์ในปี 2000 เมฆิกานาออกจากเครือข่ายในปี 2004 ก่อนที่จะเข้าร่วมวันเวิล์ดในวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009[8] เมฆิกานาได้เข้าสู่กระบวนการล้มละลายในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2010 หลังจากที่พยายามปรับโครงสร้างองค์กร[9] และได้เลิกการดำเนินงานในวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 2010[10] นอกจากนี้แล้วสายการบินลูก เมฆิกานากลิกและเมซิกานาลิงก์ ก็ได้เลิกดำเนินการเช่นเดียวกัน ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012 เมฆิกานาได้ประกาศเป็นครั้แรกว่าเมดแอตแลนติกเข้าซื้อสายการบินด้วยเงิน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2014 ได้มีการตัดสินให้เมฆิกานาเป็นผู้มีหนี้สินพ้นตัวและล้มละลายรวมถึงสั่งให้ขายทรัพย์สินของสายการบิน เดิมเมฆิกานามีสำนักงานใหญ่ที่อาคารเมฆิกานาเดอาเบียซิออนในเม็กซิโกซิตี[11] ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2023 รัฐบาลเม็กซิโกได้เข้าซื้อทรัพย์สินของสายการบิน โดยมีแผนที่จะฟื้นฟูกิจการสายการบินราคาประหยัดนี้ใหม่อีกครั้ง โดยให้อยู่ภายใต้เซเดนากระทรวงกลาโหมเม็กซิโก[12]

1920s: ช่วงแรก[แก้]

แอล.เอ. วินชิปและแฮรรี เจ. ลอว์ซันได้ร่วมกันก่อตั้ง กอมปัญเญียเมฆิกานาเดตรังช์ปอร์ตาซิออนอาเรอาอาลาซาซอน หรือ เซเอเมเตอา ซึ่งโกซิตีไปยังตัมปิโกและมาตาโมโรสด้วยเครื่องบินลินคอล์นสแตนดาร์ด แอล.เอส.5[13] ซึ่งทั้งสองเมืองนั้นเป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งน้ำมันดิบในอ่าวเม็กซิโก ต่อมาในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1924 วิลเลียม แลนตี มัลลอรีและจอร์จ ริห์ล ได้ร่วมกันก่อตั้ง กอมปัญเญียเมฆิกานาเดอาเบียซิออน (แปลตรงตัว: "บริษัทการบินเม็กซิโก" หรือ "บริษัทสายการบินเม็กซิโก") ซึ่งทำการบินไปยังตัมปิโกและมาดาโมโรสจากเม็กซิโกซิตีเช่นเดียวกัน

เมฆิกานาก่อตั้งขึ้นหลังจากกอมปัญเญียเมฆิกานาเดอาเบียซิออนเข้าซื้อสินทรัพย์ของเซเอเมเตอา[14] ทำให้สามารถเริ่มทำการบินได้ ในปี 1925 เชอร์แมน แฟร์ไชลด์ได้เข้าซื้อหุ้น 20% ในสายการบิน ทำให้เริ่มมีการนำเครื่องบินแฟร์ไชลด์ เอฟซี2 ในปี 1928 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929 ฮวน ทริปเปจากแพนแอมได้เข้าซื้อหุ้นส่วนใหญ่ของสายการบิน และได้เริ่มทำการบินระหว่างประเทศสู่จุดหมายปลายทางในสหรัฐ โดยใช้เครื่องบินฟอร์ด ไตรมอร์เตอร์ในการบินเส้นทางเม็กซิโกซิตี-ทักซ์ปัน-ตัมปิโก-บราวน์สวิลล์ โดยได้มีชาลส์ ลินด์เบิร์กเป็นนักบินในเที่ยวบินแรก

1930-1950s[แก้]

ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1930 เมฆิกานาได้มีการพัฒนาในหลากหลายด้าน สายการบินเริ่มทำการบินจากบราวน์สวิลล์ไปยังกัวเตมาลาซิตี โดยมีจุดแวะพักที่เบรากรุซ มินาติตลัน อิฆเตเปค และตาปาชูลา นอกจากนี้แล้วยังเพิ่มเส้นทางบินไปยังเอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา คิวบา นิการากัว และปานามา ซึ่งร่วมมือกับแพนแอมในการทำการบินจากฐานการบินไมแอมีของแพนแอม (แพนแอมเป็นผู้ทำการบินจากเม็กซิโกซิตีไปยังไมอามี) ในวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1936 เมฆิกานาทำการบินไปยังลอสแอนเจลิส ซึ่งเป็นสายการบินต่างประเทศสายแรกที่ทำการบินไปยังที่นี้[14]

ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1940 เป็นช่วงเวลาที่เมฆิกานาได้พัฒนาเส้นทางภายในประเทศเป็นหลัก แต่เมฆิกานาก็เริ่มทำการบินเส้นทางบินระหว่างประเทศบ้าง เช่น เที่ยวบินจากเม็กซิโกซิตีไปยังอาบานา เมฆิานาเริ่มเส้นทางสู่มอนเตร์เรย์ นวยโวลาเรโด และเมริดา นอกจากนี้ยังทำการบินเที่ยวบินกลางคืนไปยังลอสแองลิสเพิ่มเติม เป็นการเริ่มการทำการบินเที่ยวบินกลางคืนของสายการบิน ต่อมาจึงมีการทำเที่ยวบินกลางคืนสู่เมริดา เดิมเมฆิกานาใช้เครื่องบินดักลาส ดีซี-2 สำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศนี้ ตามกาลเวลาสายการบินก็ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่องบินที่ใหญ่ขึ้น เช่น ดักลาส ดีซี-3 และดักลาส ดีซี-4 โดยการนำดีซี-4 มาประจำการทำให้สายการบินสามารถทำการบินตรงจากเม็กซิโกซิตีไปยังลอสแอนเจลิสได้โดยไม่ต้องแวะพัก และในช่วงเวลานี้ เมฆิกานาได้ตั้งโรงเรียนการบินในเม็กซิโกซิตี

ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1950 เป็นช่วงที่เมฆิกานาพัฒนาช้าลง โดยในช่วงนี้มีการเริ่มประจำการของเครื่องบินดักลาส ดีซี-6 และการปรับปรุงการทำงานของพนักงานด้วยการเปิดโรงเรียนฝึกหัดพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เครื่องบินดีซี-6 ได้นำมาทำการบินในเที่ยวบินจากเม็กซิโกซิตีไปยัง ปูเอร์โตบายาร์ตาและโออาฆากา และเริ่มบินเส้นทางไปยังแซนแอนโทนิโอ, รัฐเท็กซัส

1960s: การเข้ามาของอากาศยานไอพ่น[แก้]

เดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ทเป็นเครื่องบินไอพ่นรุ่นแรกของสายการบิน

ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1960 เมฆิกานาได้สั่งซื้อเดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ท 4ซี จำนวนสี่ลำ การนำเครื่องบินรุ่นดังกล่าวเข้ามาประจำการในวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1960 นับเป็นการเริ่มต้นสมัยอากาศยานไอพ่นของสายการบิน โดยทำการบินเที่ยวบินแรกจากเม็กซิโกซิตีไยังลอสแอนเจลิส แม้ว่าสายการบินจะมีเครื่องบินที่ล้ำสมัย แต่ทีการแข่งขันสูง ในช่วงปลายทศวรรษเมฆิกานาได้ประกาศล้มละลาย แต่เมฆิกานายังสามารถเริ่มนำเครื่องบินโบอิง 727-100 เข้ามาประจำการได้ ในปี 1967 สายการบินทำการบินไปยังหจุดหมายปลายทางในสหรัฐ ได้แก่ คอร์ปัสคริสตี แดลลัส และแซนแอนโทนิโอในรัฐเท็กซัส ชิคาโกในรัฐอิลลินอย ลอสแอนเจลิสในรัฐแคลิฟอร์เนีย และไมอามีในรัฐฟลอริดา และยังทำการบินไปยังอาบานา ประเทศคิวบา และ คิงส์ตันและมอนเตโกเบย

ปัญหาทาการเงินของสายการบินได้นำมาสู่การเปลี่ยนชุดเจ้าหน้าที่บริหารในวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1968 โดยมีเครสเซนซิโอ บาเยสเตรอสเป็นประธานและ มานูเอล โซซา เด ลา เบกาเป็นซีอีโอ โดยแผนการฟื้นฟูกิจการของชุดเจ้าหน้าที่บริหารชุดนี้

อย่างไรก็ตาม ปี 1969 เป็นปีที่สายการบินจะต้อประสบกับเหตุเครื่องบินโบอิง 727 ตกสองลำ ลำแรกตกในสภาพอากาศเลวร้ายขณะทำการบินจากเม็กซิโกวิตีไปยังมอนเตร์เรย์ โดยลำที่สองตกขณะทำการบินจากชิคาโกกลับมาเม็กซิโกซิตี

1970-1990s[แก้]

โบอิง 727-200 แอดวานซ์ของเมฆิกานาที่ท่าอากาศยานไมแอมี (1990)

ในปี 1971 เมฆิกานาเริ่มทำการบินไปยังท่าอากาศยานนานาชาติลุยส์ มูญโญส มารินในซานฮวน ปวยร์โตรีโก ซึ่งเป็นเส้นทางที่สาการบินทำการบินติดต่อกันเป็นเวลากว่า 25 ปี โดยดำเนินจากเม็กซิโกซิตี แต่มีบางช่วงที่มีจุดแวะพักที่เมริดา[15] และเริ่มทำการบินไปยังเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด สายการบินได้ขยายฝูงบินอย่างต่อเนื่อง โดยได้มีเครื่องบินไอพ่นประจำการอยู่ 19 ลำ มากที่สุดในละตินอเมริกา ณ เวลานั้น นอกจากนั้นแล้วสายการบินยังได้เริ่มใช้เครื่องจำลองการบิของเครื่องบินโบอิง 727 ที่ฐานการบินหลักในท่าอากาศยานนานาชาติเม็กซิโกวิตี ในช่วงเวลานี้เมฆิกานาเป็นผู้ให้บริการโบอิง 727 รายใหย่ที่สุดนอกสหรัฐ

ในโอกาสวาระครบรอบ 50 ปีของสายการบิน ได้มีการสร้างอนุสรณ์สถานให้กับเมฆิกานาเดอาเบียซิออนในฐานะที่เป็นสายการบินแรกของประเทศ ภายในหลังปี 2010 อนุสรณ์สถานนี้เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมกาบินของเม็กซิโกและสายการบินต่างๆ ที่เคยให้บริการในประเทศ

ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1980 เมฆิกานามีอัตราการเติบโตที่คงที่ แต่ก็มีเหตุการณ์สำคัญบ้าง ในปี 1981 แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10-15 จำนวนสามลำเข้าประจำการกับสายการบิน โดยได้เริ่มทำการบินในเส้นทางสู่จุดหมายปลายทางในทะเลแคริบเบียน โดยดีซี-10 เป็นเรื่องบินลำตัวกว้างลำแรกของสายการบินซึ่งจะใช้งานในเส้นทางที่มีจำนวนผู้โดยสารมาก ในปี 1982 รัฐบาลเม็กซิโกเข้าถือหุ้น 58% องสายการบินก่อนที่จะออกมาเป็นบริษัทเอกชนในเดือนกสิงหาคม ค.ศ. 1989 ต่อมาในปี 1984 การก่อสร้างสำนักงานใหญ่ของเมฆิกานาในโซลาอาเบนูเอ เม็กซิโกซิตีได้เสร้จสิ้น โดยเป็นอาคาร 30 ชั้นที่มีลักษณะคล้ยกับหอบังคับการบิน ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1986 เมฆิกานา เที่ยวบินที่ 940 ซึ่งดำเนินเที่ยวบินสู่ปูเอร์โตบายาร์ตา เกิดไฟไหม้บนเที่ยวบินและตกลงในบริเวณเทือกเขาทงตะวันตกของเม็กซิโก ส่งผลให้ผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมดเสียชีวิต อุบัติเหตุในครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่ร้ายแรงที่สุดที่เกิดขึ้นกับเครื่องบินของเมฆิกานา ในปี 1988, อาเอโรนาเบสเดเมฆิโก (ปัจจุบันดำเนินการในชื่อ อาเอโรเมฆืโก) ซึ่งเป็นคู่แข่งสำคัญของเมฆิกานา ได้ประกาศล้มละลาย เป็นผลให่เมฆิกานาได้สิทธิในเที่ยวบินระบะไกลหลายเที่ยวบินของอาเอโรเมฆิโกตลอดช่วงคริสศตวรรษที่ 1990

ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1990 เมฆิกานาให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทางมากกว่า 13 แห่งในสหรัฐ ได้แก่ บอลทิมอร์, ชิคาโก, แดลลัส/ฟอร์ตเวิร์ธ, เดนเวอร์, ลอสแอนเจลิส, ไมแอมี, นครนิวยอร์ก, ออร์แลนโด, ซานอานโตนีโอ, ซานฟรานซิสโก, ซานโอเซ (รัฐแคลิฟอร์เนีย), ซีแอตเทิล และแทมปา รวมถึง ซานฮวน เปอร์โตริโก และเพิ่มเที่ยวบินสู่กัวเตมาลาซิตี อาบานา และซานโอเซ ประเทศคอสตาริกา[16] การยกเลิกกฎระเบียบของอุตสาหกรรมการบินของเม็กซิโกทำให้เกิดคู่แข่งรายใหม่ เช่น ลาตูร์, ซาโร และ ตาเอซา ส่งผลให้เมฆิกานาเริ่มนำเครื่องบินสมัยใหม่มาประจำการ เช่นแอร์บัส เอ320 ในปี 1991 และฟอกเกอร์ 100 ในปี 1992 ต่อมาในช่วงกลางทศวรรษ 1990 เศรษฐกิจเม็กซิโกได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการลดค่าเงินเปโซของเม็กซิโก จึงทำให้เมฆิกานา อาเอโรเมฆิโก และสายการบินระดับภูมิภาคในเครือถูกแปรรูปเป็นรัฐวิสาหกิจหลังจากบริษัทแม่ ซินตรา (กอร์โปราซิออนอินเตร์นาซิออนาเดตรังช์ปอร์เตอาเอโณ) ถูกรัฐบาลควบคุม ก่อนที่จะเป็นบริษัทเอกชนอีกครั้งในปี 2005 ในปี 1967เมฆิกานาได้มีผู้บริหารชุดใหม่ โดยมีเฟอร์นันโด ฟลอเรส เป็นประธานและซีอีโอ สายการบินได้มีการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ โดยเน้นไปที่การบริการระหว่างประเทศใหม่ เส้นทางที่ไม่ได้ผลกำไรจะถูกยกเลิก และปลดประจำการดักลาส ดีซี-10 เมฆิกานาได้ขยายเส้นทางบินไปยังทวีปอเมริกาใต้หลายเส้นทาง เช่น ลิมา ซานเตียโกเดชิเล และบัวโนสไอเรส และขยายไปยังอเมริกาเหนือ เช่น มอนทรีออล เพื่อดำเนินการในเส้นทางใหม่นี้ สายการบินได้เช่าเครื่องบินโบอิง 757-200 นอกจากนี้ เมฆิกานาได้เข้าร่วมกับพันธมิตรสายการบินต่างๆ โดยเริ่มแรกสายการบินเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรระดับภูมิภาคอย่าง ลาตินปาส และ อาลาสเดอาเมริกา ต่อมาได้เป็นพันธมิตรกับยูไนเต็ดแอร์ไลน์ พันธมิตรนี้สามารถช่วยให้เมฆิกานาเข้าร่วมพันธมิตรสายการบินระดับโลกได้ โดยได้เข้าร่วมสตาร์อัลไลแอนซ์

1995–2005[แก้]

ในปี 1995 เมฆิกานาควบรวมกิจการเข้ากับอาเอโรเมฆิโกเป็นซินตรา โดยังคงให้บริการภายใต้ชื่อตนเองอยู่ ต่อมาในปี 1996 ได้มมีการเปลี่ยนแปลงลวดลายอากาศยาน โดยบนิเวณแพนหางจะมีโลโก้สายการบินบนลายพื้นหลังสีเขียว ท้องเครื่องสีเทา และชื่อสายการบินสีดำบริเวณหัวเครื่อง ในช่วงทศวรรษที่ 2000 เป็นช่วงเวลาที่สายการบินเติบโตอย่างต่อเนื่อง สายการบินเฉลิมฉลองครบรอบ 80 ปีในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2001 ก่อนวินาศกรรม 11 กันยายนเพียงไม่กี่เดือน Nevertheless, the airline continued to evolve. It officially joined the Star Alliance in 2000 amid much fanfare, only to exit in March 2004 in response to rapidly changing market conditions related to United Airlines bankruptcy, and the aftershocks of the September 11, 2001, terrorist attacks. CEO Emilio Romano stated in the airline's in-flight magazine VUELO that the airline left the alliance to pursue more effective code-sharing relationships with other airlines. Simultaneously, the airline created an alliance with American Airlines and several Oneworld partners leading some to speculate whether the airline would join that alliance. Nevertheless, it also maintained ties to some of its former Star Alliance partners, such as Lufthansa. In 2003, the airline retired its last Boeing 727-200 after operating the type for almost 40 years. These aircraft were replaced with newer A320s, A319s and A318s. Once an important Boeing Company operator, Mexicana transformed into an important Airbus Industrie airline, although it still operated one Boeing aircraft. The airline's long haul operations were conducted by Boeing 767s, introduced in December 2003.

2005[แก้]

2005 was an important year as the airline was sold and several low-cost carriers were established in Mexico. Mexicana rebranded its regional subsidiary, Aerocaribe, as "Click Mexicana" and promotes it as a low-cost carrier. This is part of the company's plan to remain competitive as the aviation industry changes and competition intensifies. Another component includes increasing international presence. Also, the color scheme was changed again to a dark blue tail and blue lettering on a white background.

การขายบริษัท[แก้]

Despite government announcements indicating that the airlines were going to be privatized, that move did not occur until November 29, 2005, when CINTRA sold Mexicana and its subsidiary, Click Mexicana, to the Mexican hotel chain Grupo Posadas for US$165.5 million. The road to privatization was long and winding. The government reversed its course on several occasions. At times, they proposed to sell Mexicana and AeroMéxico separately; other times, they proposed to sell them together to increase the bid price. They also proposed to sell the companies merged, but separate from their regional affiliates to increase competition. Several companies expressed interest in purchasing one or both of the airlines. For example, Iberia Airlines of Spain announced plans to buy part of both Mexicana and Aeroméxico. However, Mexicana's owners rejected the offer possibly[dubious – discuss] because another Iberia-owned Latin-American airline, Viasa of Venezuela, had gone bankrupt under Iberia's ownership. Further, Aerolíneas Argentinas had previously rejected a similar offer by Iberia.

2006-2010[แก้]

เมฆิกานาเริ่มทำการบินไปยังมาดริดด้วยแอร์บัส เอ330 ในภาพขณะลงจอดที่ท่าอากาศยานบาราฆัส (2009)

On July 12, 2006, Mexicana announced that it intended to begin service to several new destinations in the United States including Detroit and Charlotte. It intended to return to Puerto Rico, but the service came back only as a charter operation. It was also negotiating with Arkansas officials to begin service to Little Rock National Airport. Mexicana was named "Best Airline in Latin America" in 2006 and "Best Business in Central and Latin America".

On April 9, 2008, Oneworld invited Mexicana to join the alliance and the airline was expected to join the alliance on November 11, 2009, together with its two subsidiaries MexicanaClick and MexicanaLink, thus adding 26 destinations to the network. Iberia was the sponsor of Mexicana's invitation into the Oneworld alliance. Mexicana was to compete with SkyTeam members Aeroméxico and Copa Airlines (which later left SkyTeam, possibly to join Star Alliance because of Continental Airlines' move to that alliance) and Star Alliance potential member TACA and member TAM for service between the US and Europe and Latin America. Mexicana was to start new flights to the US, Europe, and Brazil to better leverage its position.

In October 2008, Mexicana announced three new destinations, London (Gatwick), São Paulo (Brazil), and Orlando (U.S.). Service commenced December 8 for São Paulo (GRU) and Orlando (MCO), followed by London (LGW) on January 9. With this service expansion, Mexicana became the second Mexican airline with service to Europe and Brazil (Aeromexico has long-established service to Paris, Madrid, Rome and Barcelona in Europe, and São Paulo in Brazil), and first with service to the United Kingdom. The Orlando route was operated with a medium-range Airbus 320, London, and São Paulo were operated with 2 leased Boeing 767-200ER. In addition, Mexicana announced a Mexico City to Madrid route to compete with Aeromexico and complement its partner's (Iberia) existing service. Mexicana announced that it will begin service to Madrid beginning in February 2009, through the acquisition of 2 Airbus A330-200 not taken by XL Airways UK due to bankruptcy.

On November 27, 2008, as part of a restructuring of Mexicana, it was announced that Click would stop operating as a separate Low-Cost airline and begin serving domestic destinations in Mexico as a regional feeder under the name MexicanaClick. At this time, a new, more colorful livery was introduced to the Mexicana fleet.

On February 4, 2009, Mexicana won a concession to operate a new feeder airline to complement the routes currently covered by Mexicana and Mexicana Click. The new airline was to be called MexicanaLink and operate in low-density routes to feed mainline operations from Guadalajara's airport. The airline flew Canadair CRJ-200 regional jet aircraft.

Also in February 2009, Mexicana applied to the US Department of Transportation to initiate daily, non-stop service between Guadalajara, Jalisco and New York utilizing either an Airbus A319 or the larger Airbus A320. On February 25 Mexicana joined the Airbus MRO network evaluating the Airbus A350.

Mexicana filed for Concurso Mercantil (Mexican law equivalent to US Chapter 11) and US Chapter 15 on August 3, 2010, in both the U.S. and Mexico, following labor union disputes; a debt of US$125 million was reported. On August 5, 2010, Mexicana filed a motion to the Superior Court of Quebec (Commercial Division) of the District of Montreal to obtain the recognition of foreign proceedings regarding Section 46 and following of the Companies’ Creditors Arrangement Act (“CCAA”). Subsequently, the airline scaled back its operations, suspending ticket sales and announcing the termination of selected routes. In early August 2010, the airline offered pilots and flight attendants a stake in the business in exchange for new labor terms. On August 24, a Mexican consortium called Tenedora K announced that it had bought 95% of Nuevo Grupo Aeronáutico; pilots would hold the other 5%.

After 89 years of service, Mexicana announced on August 27 that it would suspend all operations at noon CDT the following day on August 28, 2010.

The last Mexicana scheduled operation took place on August 28, 2010, with flight 866, departing Mexico City to Toronto, Canada at 4:15 PM (CST) on an Airbus A319-112 (XA-MXI).

Aeroméxico offered discounted tickets to passengers stranded by Mexicana's suspension of operations. American Airlines and American Eagle Airlines also offered assistance, providing help to passengers between the 48 contiguous U.S. states and Mexico.

ความพยายามการฟื้นฟูกิจการ[แก้]

2010[แก้]

2011[แก้]

2012[แก้]

2013-2017[แก้]

2019-2022[แก้]

2023-ปัจจุบัน[แก้]

โบอิง 737-800 ของเมฆิกานาที่ติฆัวนาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2023

ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2023 ได้มีรายงานว่ารัฐบาลเม็กซิโกได้มีข้อเสนอที่จะเข้าซื้อสินทรัพย์และชื่อเมฆิกานาเป็นเงินกว่า 811 ล้านเปโซ จากส่วนหนึ่งของแผนการของประธานาธิบดีอันเดรส มานูเอล โลเปซ โอบราดอร์ข้อเสนอนนี้จะเป็นการฟื้นฟูกิจการของสายการบินอีกครั้งในฐานะสายการบินพาณิชย์ที่ให้บริการโดยกองทัพและจะจัดหาสถานที่สำหรัการฝึกฝนพนักงาน นอกจากนี้แล้วการดำเนินการทางกฎหมายกับสายการบินตั้งแต่ปี 2014 ก็จะถูกยกเลิกเช่นกัน แผนที่จะเริ่มดำเนินกร สายการบินมีแผนจะเปิดตัวอีกครั้งในปี 2023 โดยมีฐานการบินลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติเฟลิเป อังเฆเลส โดยมีแผนที่จะเช่าแอร์บัส เอ320-200 จำนวน 19 ลำ และมีแผนจะสั่งซื้อโบอิง 737 แมกซ์เพิ่มเติม นอกจากนี้แล้วเดิมสายการบินต้องการจะนำโบอิง 787-8 ของรัฐบาลเม็กซิโกมาประจำการด้วย แต่แผนดังกล่าวถูกล้มเลิกไปในเวลาต่อมาและเครื่อบินดังกล่าวจะไปประจำการกับเซเดนา

According to President Obrador, the national law prohibiting the government of simultaneous airport and air operations would first have to be abolished, which is currently undergoing the change. He additionally stated that the airline's revival could lead to increased competition and price drops, depending on Mexicana's price balancing.

In May 2023, the government has reach an agreement with Boeing to supply aircraft for the airline.

President Obrador said that the airline is planned to launch by the "end of [2023]" with 10 aircraft, and recruit several former employees.

In July 2023, it was originally reported that the "Mexicana" revival brand would no longer be used after difficulties of reaching a deal with former workers, and slow processing, and the Mexican military would instead operate a new airline, called "Aerolínea Maya". However, deals have been officially finalized by the Mexican government, and would retain the "Mexicana de Aviación" name under the Aerolínea del Estado Mexicano legal name. A little over a month prior to the inaugural flight, Mexicana still had no planes or scheduled flights.

Operating a Boeing 737-800 leased aircraft and 15 routes, the revival airline officially launched on December 26, 2023. Select flights are operated by TAR Aerolíneas, using its two wet-leased Embraer ERJ-145LR aircraft.

กิจการองค์กร[แก้]

สำนักงานใหญ่[แก้]

บริษัทลูก[แก้]

อัตลัษณ์องค์กร[แก้]

สโลแกน[แก้]

โลโก้[แก้]

ลวดลายอากาศยาน[แก้]

ลวดลายอากาศยานของเมฆิกานาเดอาเบียซิออน

จุดหมายปลายทาง[แก้]

ตลอดการดำเนินงานของสายการบิน เมฆิกานาให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 59 แห่งในอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ และยุโรป

ข้อตกลงการบินร่วม[แก้]

เมซิกานาทำข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:

ฝูงบิน[แก้]

แอร์บัส เอ318 ของเมฆิกานา
โบอิง 757-200 ของเมฆิกานา
ฟอกเกอร์ 100 ของเมฆิกานา
แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 ของเมฆิกานา

เมฆิกานาเคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:[17][18]

ฝูงบินของเมฆิกานา
เครื่องบิน จำนวน เริ่มประจำการ ปลดประจำการ หมายเหตุ
แอร์บัส เอ318-100 10 2004 2010 ทั้งหมดขายให้กับอาเบียงกา
แอร์บัส เอ319-100 26 2001 2010 หกลำขายให้กับอาเบียงกา, อีก 20 ลำขายต่อและถูกแยกชิ้นส่วน
แอร์บัส เอ320-200 41 1991 2010
แอร์บัส เอ330-200 2 2008 2010 ขายให้กับแอร์ทรานแซท
เอฟโรว์ แอนสัน 4 ไม่ทราบ ไม่ทราบ
โบอิง 247ดี 6 1936 1950
โบอิง 727-100 17 1966 1984
โบอิง 727-200 51 1970 2003 ผู้ให้บริการายใหญ่ที่สุดนอกสหรัฐ

XA-MEM เกิดอุบัติเหตุขั้นจำหน่ายในเที่ยวบินที่ 940

โบอิง 757-200 10 1996 2008
โบอิง 767-200อีอาร์ 2 2008 2010 โอนย้ายให้กับอาเอโรเมฆิโก
โบอิง 767-300อีอาร์ 3 2003 2010
บอมบาร์ดิเอร์ ซีอาร์เจ200อีอาร์ 11 2009 2010 ดำเนินการโดยเมฆิกานากลิก
เซสนา ที-50 1 ไม่ทราบ ไม่ทราบ
เคอร์ติส โรบิน 1 1930 ไม่ทราบ
เดอ ฮาวิลแลนด์ คอเม็ท 4ซี 5 1960 1971
ดักลาส ซี-47 สกายเทรน 21 1948 1969
ดักลาส ซี-54 สกายมาสเตอร์ 9 1946 1968
ดักลาส ดีซี-2 14 1936 ไม่ทราบ
ดักลาส ดีซี-3 15 1939 1963
ดักลาส ดีซี-6 18 1950 1976
ดักลาส ดีซี-7ซี 3 1957 1958
ดักลาส ดีซี-8-71F 1 1993 1993 เช่าจากเซาเทิร์นแอร์ทรานส์พอร์ต
แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10-10 2 1989 1994
แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10-15 5 1981 1996 เป็นลูกค้าเปิดตัวควบคู่กับอาเอโรเมฆิโก
แฟร์ไชลด์ เอฟซี-2 7 1927 ไม่ทราบ
แฟร์ไชลด์ 71 6 1929 1933
แฟร์ไชลด์ ซี-82 แพคเก็ต 6 1956 1966
ฟอกเกอร์ เอฟ.6 2 1930 1932
ฟอกเกอร์ เอฟ.10 3 1929 1935
ฟอกเกอร์ 100 12 1992 2006 โอนย้ายให้กับกลิกเมฆิกานา
ฟอร์ด ไตรมอร์เตอร์ 16 1928 1947
ล็อคฮีด โมเดล 9 ออไรออน 3 1934 1946
ล็อคฮีด โมเดล 10 อิเล็กตรา 8 1934 1938
สเตียร์แมน ซี3บี 3 ไม่ทราบ ไม่ทราบ
สแตนดาร์ด เจ1 8 1921 ไม่ทราบ
ทราเวลแอร์ 6000 4 1928 ไม่ทราบ

บริการ[แก้]

โปรแกรมสะสมไมล์[แก้]

ห้องโดยสาร[แก้]

ชั้นธุรกิจ (อีลีทคลาส)[แก้]

ห้องรับรอง[แก้]

อุบัติเหตุและอุบัติการณ์สำคัญ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Stewart, Daniel (7 January 2023). "Mexican government buys Mexicana de Aviacion brand for 40 million euros". msn. Microsoft. สืบค้นเมื่อ 12 February 2023.
  2. Dillon, Kelin (26 August 2021). "Mexico to Relaunch National Airline Mexicana de Aviación". Pulse News Mexico. Pulse News Mexico. สืบค้นเมื่อ 12 February 2023.
  3. Madry, Kylie (10 August 2023). "Mexico finalizes $48 mln purchase of Mexicana airline brand". Nasdaq. Nasdaq. สืบค้นเมื่อ 10 August 2023.
  4. Soto, Héctor (10 August 2023). "Introducing Mexicana de Aviación: Mexico's New Airline". Mexico Business News. Mexico Business. สืบค้นเมื่อ 31 August 2023.
  5. "Mexicana de Aviación inicia vuelos para obtener certificación". Expansión (ภาษาSpanish). Expansión. 18 December 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  6. "Directory: World Airlines". Flight International. April 10, 2007. p. 50.
  7. "Mexicana's uncertain future: Big network shake-up posed by possible removal of the biggest player; 30% of domestic market and 20% of US-Mexico market up for grabs". anna.aero.
  8. Nasdaq.com. Nasdaq.com.
  9. "Mexicana sinks into restructuring". สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.
  10. Mozee, Carla (August 27, 2010). "Airline Mexicana to suspend operations indefinitely". MarketWatch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 29, 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-08-27.
  11. "Mexican Aviation Tower เก็บถาวร ธันวาคม 3, 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน." Mexico City Official Website. Retrieved December 4, 2010.
  12. "Mexico to Relaunch National Airline Mexicana de Aviación - Pulse News Mexico". pulsenewsmexico.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-08-26.
  13. Garbuno, Daniel Martínez (2021-07-12). "100 Years Ago, Mexico's First Airline Took To The Skies". Simple Flying (ภาษาอังกฤษ).
  14. 14.0 14.1 Flight International April 12–18, 2005
  15. http://timetableimages.com/i-mn/mx7607i.jpg
  16. "index". www.departedflights.com. สืบค้นเมื่อ 2022-11-20.
  17. "Mexicana fleet". aerobernie.bplaced.net. สืบค้นเมื่อ February 20, 2021.
  18. "Mexicana Fleet Details and History". Planespotters.net (ภาษาอังกฤษ). 2024-01-18.


อะแลสกาแอร์ไลน์[แก้]

อะแลสกาแอร์ไลน์
IATA ICAO รหัสเรียก
AS ASA ALASKA
ก่อตั้ง14 เมษายน ค.ศ. 1932 (92 ปี) (ในชื่อ แมคกีแอร์เวย์)
เริ่มดำเนินงาน6 มิถุนายน ค.ศ. 1932 (79 ปี)[1]
AOC #ASAA802A
ท่าหลัก
เมืองสำคัญ
สะสมไมล์ไมเลจ เพลน
พันธมิตรการบินวันเวิลด์
ขนาดฝูงบิน312
จุดหมาย128[3]
บริษัทแม่อะแลสกาแอร์กรุ๊ป
สำนักงานใหญ่สหรัฐ ซีแทค รัฐวอชิงตัน สหรัฐ
เว็บไซต์www.alaskaair.com

อะแลสกาแอร์ไลน์ (อังกฤษ: Alaska Airlines) เป็นสายการบินสัญชาติสหรัฐ โดยมีสำนักงานใหญ่ที่ซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน อะแลสกาเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ห้าของประเทศตามจำนวนผู้โดยสาร เมื่อรวมการปฏิบัติการณ์ระดับภูมิภาคของฮอไรซันแอร์และสกายเวสต์แอร์ไลน์แล้ว สายการบินให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทางกว่า 128 แห่งในสหรัฐ บาฮามาส เบลีซ แคนาดา คอสตาริกา กัวเตมาลา และเม็กซิโก

สายการบินมีฐานการบินห้าแห่ง โดยมีท่าอากาศยานนานาชาติซีแอตเทิล-ทาโคมาเป็นฐานการบินหลัก อะแลสกาแอร์ไลน์เป็นสมาชิกของพันธมิตรสายการบินวันเวิล์ด[4]

ประวัติ[แก้]

อะแลสกาแอร์ไลน์ก่อตั้งในปีค.ศ. 1932 ในชื่อ "แมคกีแอร์เวย์" ก่อนรวมเข้ากับสายการบินอื่นๆ อีกหลายแห่งในปีค.ศ. 1934 และทำให้เกิด "สตาร์แอร์ไลน์" [5] จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "อะแลสกาแอร์ไลน์" ในที่สุดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1944[6] ต่อมาในปี ค.ศ. 1950 อแลสกาแอร์ไลน์เริ่มให้บริการเที่ยวบินเช่าเหมาลำทั่วโลก หลายเที่ยวบิน แต่รัฐบาลได้กล่าวในภายหลังว่าอะแลสกาแอร์ไลน์สามารถบินได้ในรัฐอะแลสกาเท่านั้น แล้วในปีค.ศ. 1961 สายการบินได้เริ่มทำการบินไปยังทวีปอเมริกา ในปีค.ศ. 1970 อะแลสกาแอร์ไลน์เริ่มบินเช่าเหมาลำไปยังสหภาพโซเวียต [7] ในปีค.ศ. 1972 สายการบินได้เปิดตัวโลโก้ "เอสกิโม" อันโด่งดังซึ่งยังคงใช้มาจนถึงทุกวันนี้[8] ในปีค.ศ. 1985 อลาสก้าเริ่มบินไปยังเมืองใหม่ๆ มากมายในชายฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ในปีค.ศ. 1988 สายการบินอลาสก้าเริ่มเที่ยวบินแรกไปยังเม็กซิโก ในปีค.ศ. 1990 อะแลสกาแอร์ไลน์กลายเป็นสายการบินแรกที่ขายตั๋วทางอินเทอร์เน็ต ให้บริการเช็คอินด้วยตนเอง และมี GPS บนเครื่องบิน[9]

อลาสก้าแอร์ไลน์เปิดตัวโลโก้ใหม่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2016[10] อลาสก้าแอร์ไลน์และเวอร์จินอเมริกาประกาศแผนการที่จะควบรวมกิจการในวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 2016 สายการบินที่ควบรวมกิจการยังคงชื่ออลาสก้าแอร์ไลน์เดิม โดยเวอร์จินอเมริกาบินเป็นครั้งสุดท้าย ในวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 2018[11]

กิจการองค์กร[แก้]

โครงสร้างและกรรมสิทธิบริษัท[แก้]

สำนักงานใหญ่[แก้]

สำนักงานใหญ่ของอะแลสกาแอร์ไลน์ในซีแทค รัฐวอชิงตัน

อะแลสกาแอร์กรุ๊ปมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ตั้งอยู่ที่ 19300 International Boulevard, SeaTac, Washington, United States

เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2018 สายการบิน Alaska Airlines เปิดเผยแผนการก่อสร้างอาคารขนาด 128,000 ตารางฟุตใกล้สนามบิน Sea-Tac เพื่อเป็นพื้นที่สำนักงานสำหรับจำนวนพนักงานที่กำลังเติบโต อาคารใหม่นี้จะตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามถนนจากสำนักงานใหญ่ของบริษัทอลาสก้า และอยู่ติดกับศูนย์ฝึกการบิน การก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในต้นปี 2563

ผลประกอบการ[แก้]

ผลประกอบการของอะแลสกาแอร์กรุ๊ป ในช่วงปี 2009-2022 มีดังนี้:

2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
รายได้ (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 3,400 3,832 4,318 4,657 5,156 5,368 5,598 5,931 7,933 8,264 8,781 3,566 6,176 9,646
กำไร/ขาดทุน สุทธิ (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 122 251 245 316 508 605 848 814 1,028 437 769 −1,324 478 58
จำนวนพนักงาน (ค่าเฉลี่ยตามเวลาทำงานเทียบเท่า) 11,955 12,163 12,739 13,858 14,760 21,641 22,126 17,596 19,375 22,564
จำนวนผู้โดยสาร (ล้านคน) 23.3 24.8 25.9 27.4 29.3 31.9 41.9 44.0 45.8 46.7 17.9 32.4 41.5
อัตราการบรรทุกผู้โดยสาร (%) 82.4 84.5 85.9 85.6 85.1 84.1 84.1 84.3 83.7 84.1 55.2 73.6 84.5
จำนวนอากาศยาน (ณ สิ้นปี) 190 196 212 285 304 330 332 291 311 311
หมายเหตุ/อ้างอิง [12] [13] [13] [13] [13] [13] [14] [15][16]

[17]

[12][15]

[16]

[18] [18] [19] [20] [20]

อัตลักษณ์องค์กร[แก้]

โลโก้[แก้]

โลโก้ปัจจุบันของอะแลสกาแอร์ไลน์

ลวดลายอากาศยาน[แก้]

จุดหมายปลายทาง[แก้]

ข้อตกลงการบินร่วม[แก้]

อะแลสกาแอร์ไลน์เป็นสมาชิกของพันธมิตรวันเวิลด์และมีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่อไปนี้:[21][22]

ฝูงบิน[แก้]

ฝูงบินปัจจุบัน[แก้]

โบอิง 737-800 ของอะแลสกา
โบอิง 737-900อีอาร์ของอะแลสกา ในลวดลายพิเศษ
โบอิง 737 แมกซ์ 9 ของอะแลสกา

ณ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2023 อะแลสกาแอร์ไลน์มีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[23][24]

ฝูงบินของอะแลสกาแอร์ไลน์
เครื่องบิน ประจำการ คำสั่งซื้อ ผู้โดยสาร หมายเหตุ
F Y+ Y รวม
โบอิง 737-700 11 12 18 94 124
โบอิง 737-800 61 12 30 117 159
โบอิง 737-900 12 16 24 138 178
โบอิง 737-900อีอาร์ 79 16 24 138 178
โบอิง 737 แมกซ์ 8
โบอิง 737 แมกซ์ 9[25] 13 80 16 24 138 178
โบอิง 737 แมกซ์ 10 รอประกาศ
ฝูงบินของะแลสกาแอร์คาร์โก้
โบอิง 737-700F 3 สินค้า
โบอิง 737-800F
ฝูงบินของฮอไรซั่นแอร์และสกายเวสต์แอร์ไลน์
เอ็มบราเออร์ อี175 30 12 12 12 52 76 ให้บริการโดยฮอไรซันแอร์
32 8 ให้บริการโดยสกายเวสต์แอร์ไลน์
รวม 311 100

อะแลสกาแอร์ไลน์มีอายุฝูงบินเฉลี่ย 8.6 ปี

ฝูงบินในอดีต[แก้]

แอร์บัส เอ320 ของอะแลสกา

อะแลสกาแอร์ไลน์เคยให้บริการเครื่องบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:

เครื่องบิน จำนวน เริ่มประจำการ ปลดประจำการ หมายเหตุ
แอร์บัส เอ319-100 10 2018 2020 โอนย้ายจากเวอร์จินอเมริกาหลังการควบรมกิจการ
แอร์บัส เอ320-200 53 2018 2023
แอร์บัส เอ321นีโอ 10 2018 2023
โบอิง 720 4 1973 1975 เช่าจากแพนแอม
โบอิง 720บี 1 1972 1972 เช่าจากคอนติเนนตัลแอร์ไลน์
โบอิง 727-100 32 1966 1990
โบอิง 727-200 29 1970 1994
โบอิง 737-200ซี 9 1981 2007
โบอิง 737-400 40 1992 2018 หนึ่งลำถูกดัดแปลงสำหรับการขนส่งสินค้า

ห้าลำถูกดัดแปลงเป็นอากาศยานคอมบิ

บอมบาร์ดิเอร์ ซีอาร์เจ-700 9 2011 2018 ให้บริการโดยสกายเวสต์แอร์ไลน์
บอมบาร์ดิเอร์ แดช 8 คิว400 54 2011 2023 ให้บริการโดยฮอไรซันแอร์
คอนแวร์ 880 1 1961 1966 อากาศยานไอพ่นลำแรกของสายการบิน[26]
คอนแวร์ 990 1 1967 1969
แมคดอนเนลล์ดักลาส เอ็มดี-82 14 1985 2007
แมคดอนเนลล์ดักลาส เอ็มดี-83 34 1985 2008
1 2000 ตกในเที่ยวบิน AS261

บริการ[แก้]

โปรแกรมสะสมไมล์[แก้]

ห้องโดยสาร[แก้]

อุบัติเหตุและอุบัติการณ์สำคัญ[แก้]

อุบัติเหตุสำคัญ[แก้]

  • 31 มกราคม ค.ศ. 2000: เที่ยวบินที่ 261 เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-80 ตกลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ใกล้กับเกาะอะนาคาปา บริเวณรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐฯ โดยขณะบินอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก เครื่องบินก็ได้สูญเสียการควบคุมแล้วตกลง ส่งผลให้ไม่มีผู้รอดชีวิต คาดว่าเกิดจากความล้มเหลวของสกรู เนื่องจากการบำรุงรักษาที่ไม่เหมาะสม

อุบัติการณ์สำคัญ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Norwood, Tom; Wegg, John (2002). North American Airlines Handbook (3rd ed.). Sandpoint, Idaho: Airways International. ISBN 0-9653993-8-9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 28, 2016. สืบค้นเมื่อ April 28, 2017.
  2. Singh, Jay (October 10, 2021). "Boise Gets Another Boost From Alaska Airlines". Simple Flying (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ July 7, 2022.
  3. "Alaska Airlines on ch-aviation.com". ch-aviation.com. สืบค้นเมื่อ 21 November 2023.
  4. "Alaska Airlines Officially Joins oneworld". www.oneworld.com (ภาษาอังกฤษ).
  5. Airlines, Alaska. "History". Alaska Airlines (ภาษาอังกฤษ).
  6. "StanWing.Com - Insignia of the U.S.A." stanwing.com.
  7. Alaska Airlines File
  8. ที่มาของเอสกิโม; รูปที่อยู่บนหางของเครื่องบินในฝูงของอะแลสกาแอร์ไลน์คือใคร?
  9. Airlines, Alaska. "Alaska Airlines Pioneers". Alaska Airlines (ภาษาอังกฤษ).
  10. Oregonian/OregonLive, Elliot Njus | The (2016-01-26). "Alaska Airlines debuts new logo, paint job". oregonlive (ภาษาอังกฤษ).
  11. https://www.virginamerica.com/cms/news/virgin-america-merger-with-alaska-airlines
  12. 12.0 12.1 "Alaska Air Revenue 2006-2018 | ALK". www.macrotrends.net. สืบค้นเมื่อ 2018-10-31.
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 "Alaska Air Group Annual Report 2014". March 27, 2015. สืบค้นเมื่อ February 20, 2020.
  14. "Alaska Air Group Form 10-K Annual Report for the fiscal year ended December 31, 2015". February 11, 2016. สืบค้นเมื่อ February 20, 2020.
  15. 15.0 15.1 "Alaska Air Group reports December 2017 and full-year operational results". January 12, 2018. สืบค้นเมื่อ 20 February 2020.
  16. 16.0 16.1 "ALK Investor Day 2018". 2018. สืบค้นเมื่อ February 20, 2020.
  17. "Alaska Air Group, Form 10-K, Annual Report, Filing Date February 28, 2017" (PDF). secdatabase.com. สืบค้นเมื่อ October 24, 2017.
  18. 18.0 18.1 "Alaska Air Group reports fourth quarter 2019 and full-year results". January 28, 2020. สืบค้นเมื่อ February 20, 2020.
  19. "Alaska Air Group, Form 10-K, Annual Report, Filing Date February 26, 2021". Alaska Air Group. สืบค้นเมื่อ December 18, 2021.
  20. 20.0 20.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 10K-2022
  21. Airlines, Alaska. "Codeshare Info". Alaska Airlines (ภาษาอังกฤษ).
  22. Airlines, Alaska. "Our airline partners that you can earn and use miles with to see the world". Alaska Airlines.
  23. Airlines, Alaska. "Information about the planes we fly". Alaska Airlines (ภาษาอังกฤษ).
  24. "Please verify your request | Planespotters.net". www.planespotters.net.
  25. Cook, Marc (2020-12-29). "Boeing 737 MAX Resumes U.S. Service, Gets New Orders". AVweb (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-03-08.
  26. Joe Kunzler (June 7, 2022). "What Were Alaska Airlines' First Jetliners?". Simpleflying.com. สืบค้นเมื่อ June 7, 2022.


กีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46[แก้]

กีฬาสาธิตสามัคคีครั้งที่ 46
เจ้าภาพโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำขวัญกีฬาสาธิต ผูกมิตรสัมพันธ์ สามัคคีกัน ร่วม "ฉัททันต์เกมส์"'
ทีมเข้าร่วม22 โรงเรียน
กีฬา18 ชนิดกีฬา
พิธีเปิด4 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-04)
พิธีปิด10 พฤศจิกายน 2566 (2566-11-10)
เว็บไซต์ทางการchattangames.edu.cmu.ac.th

การแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคีครั้งที่ 46 "ฉัททันต์เกมส์" เป็นมหกรรมกีฬาระหว่างโรงเรียนสาธิตในประเทศที่อยู่ภายใต้มหาวิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4 - 10 พฤศจิากยน พ.ศ. 2566 โดยได้มีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

การเตรียมความพร้อมและพัฒนาการ[แก้]

การตลาด[แก้]

สัญลักษณ์[แก้]

มาสคอต[แก้]

คำขวัญ[แก้]

เหรียญรางวัล[แก้]

เพลงประกอบ[แก้]

สนามแข่ง[แก้]

การแข่งขัน[แก้]

พิธีเปิด[แก้]

เจ้าภาพจัดแข่งขันจะต้องจัดการแสดงเปิดงาน โดยจะมีการแสดงโชว์เชียร์จากโรงเรียนเจ้าภาพและโรงเรียนอื่น ๆ (ถ้ามี) และการแสดงเปิดงานจากเจ้าภาพ โดยอาจมีหลายชุดได้ จากนั้นจะมีการเคลื่อนขบวนพาเหรดนักกีฬาของแต่ละสถาบันเข้าสู่สนาม ประธานคณะอำนวยการจัดการแข่งขันจึงจะกล่าวเปิดงาน เชิญธงการแข่งขันขึ้นสู่ยอดเสา และจะมีการแสดงอัญเชิญคบเพลิงและจุดไฟเป็นอันเสร็จพิธี ทั้งนี้พิธีเปิดในแต่ละครั้งจะขึ้นอยู่กับเจ้าภาพในการจัดพิธี

กีฬา[แก้]

ปฏิทินการแข่งขัน[แก้]

ต่อไปนี้เป็นปฏิทินการแข่งขันที่เผยแพร่ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2566[1]

OC พิธีเปิด การแข่งขันรอบทั่วไป การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ CC พิธีปิด
พฤศจิกายน

พ.ศ. 2566

04

ส.

05

อา.

06

จ.

07

อ.

08

พ.

09

พฤ.

10

ศ.

รายการ
พิธีการ OC CC
กรีฑา
กอล์ฟ
ซอฟต์บอล 12
เซปักตะกร้อ 16
เทนนิส
เทเบิลเทนนิส 103
บาสเกตบอล 65
แบดมินตัน 144
เปตอง
ฟุตซอล 45
ฟุตบอล 34
ลีลาศ 92
วอลเลย์บอล 57
ว่ายน้ำ 49
หมากกระดาน 41
ฮอกกี 45
แฮนด์บอล 27
เทคบอล '26
รายการทั้งหมด 756
พฤศจิกายน

พ.ศ. 2566

04

ส.

05

อา.

06

จ.

07

อ.

08

พ.

09

พฤ.

10

ศ.

รายการ

โรงเรียนที่เข้าร่วม[แก้]

ในการแข่งขันครั้งนี้มีโรงเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 22 โรงเรียน ดังนี้:[2]

โรงเรียนสาธิตที่เข้าร่วมแข่งขัน
  1. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
  2. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
  3. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
  4. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
  5. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)
  6. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม)
  7. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  8. โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
  9. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา
  10. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา
  11. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)
  12. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
  13. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายประถม)
  14. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายมัธยม)
  15. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
  16. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม)
  17. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
  18. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์
  19. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา)
  20. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา)
  21. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายประถมศึกษา)
  22. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา)

สรุปเหรียญการแขังขัน[แก้]

ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 มีการได้รับเหรียญรางวัลใน 10 อันดับแรกดังนี้:

ลำดับที่ โรงเรียน ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สาธิตประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) 56 46 64 166
2 สาธิตเกษตร 55 58 65 178
3 สาธิตประสานมิตร (ฝ่ายประถม) 54 46 30 130
4 สาธิตปทุมวัน 54 40 46 140
5 สาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายมัธยม) 40 45 27 112
6 สาธิตรามคำแหง (ฝ่ายมัธยม) 38 29 42 109
7 สาธิตขอนแก่น 29 24 28 81
8 สาธิตบูรพา 24 31 36 91
9 สาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) 22 27 40 89
10 สาธิตรามคำแหง (ฝ่ายประถม) 18 15 29 62
11-22 โรงเรียนที่เหลือ 53 76 102 231
รวม (22 โรงเรียน) 443 437 509 1389

อ้างอิง[แก้]

  1. เว็บมาสเตอร์ (2023-10-07). "กำหนดการแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46". ฉัททันต์เกมส์ กีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46.
  2. เว็บมาสเตอร์ (2023-03-29). "สถาบันที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาสาธิตสามัคคี". ฉัททันต์เกมส์ กีฬาสาธิตสามัคคี ครั้งที่ 46.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]