ประเทศเบลีซ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เบลีซ)
เบลีซ

Belize (อังกฤษ)
คำขวัญละติน: Sub Umbra Floreo
("เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา")
ที่ตั้งของเบลีซ
เมืองหลวงเบลโมแพน
เมืองใหญ่สุดเบลีซซิตี
ภาษาราชการภาษาอังกฤษ, ภาษาสเปน
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
เดมฟรอยลา ซาลาม
จอห์นนี บรีเซโญ
เอกราช
21 กันยายน พ.ศ. 2524
พื้นที่
• รวม
22,966 ตารางกิโลเมตร (8,867 ตารางไมล์) (148)
0.7
ประชากร
• ก.ค. 2549 ประมาณ
287,730 (1792)
12.5 ต่อตารางกิโลเมตร (32.4 ต่อตารางไมล์) (2032)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560[ต้องการอ้างอิง] (ประมาณ)
• รวม
$ 3.230 พันล้าน[ต้องการอ้างอิง]
$ 8,341[ต้องการอ้างอิง]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560[ต้องการอ้างอิง] (ประมาณ)
• รวม
$ 1.819 พันล้าน[ต้องการอ้างอิง]
$ 4,698[ต้องการอ้างอิง]
จีนี (2542)53.3
สูง
เอชดีไอ (2562)ลดลง 0.716[1]
สูง · 110
สกุลเงินดอลลาร์เบลีซ (BZD)
เขตเวลาUTC-6
รหัสโทรศัพท์501
โดเมนบนสุด.bz
1God Save The King เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ในพระราชพิธีเท่านั้น2ข้อมูลปี พ.ศ. 2548

เบลีซ (อังกฤษ: Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก

ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice

เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง

ภูมิศาสตร์[แก้]

ส่วนใหญ่เป็นป่าเขตร้อน มีที่ราบลุ่มบริเวณชายฝั่งทะเล มีเนินเขาทางตอนใต้

ประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคก่อนประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคอารยธรรมมายา[แก้]

ประวัติศาสตร์ของเบลีซเริ่มต้นเมื่อ 1,500 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อประเทศถูกครอบครองโดยอารยธรรมมายา มีแหล่งโบราณคดีจำนวนมากกระจายไปทั่วประเทศเช่น El Caracol, Lamanai และ Xunantunich สะท้อนให้เห็นถึงอดีตของประเทศและประชากรที่อาศัยอยู่

ยุคอารยธรรมมายา[แก้]

ช่วงกลางศตวรรษ มีชาว Baymen จากอังกฤษและสกอตแลนด์ได้กระจายอำนาจและเริ่มเข้ามาตั้งรกรากในเบลีซ สเปนก็ได้ใช้ความพยายามในการเข้าควบคุมประเทศ แต่ในที่สุดเบลีซก็ได้ถูกก่อตั้งให้เข้ามาร่วมอยู่จักรวรรดิอังกฤษ หลังจากสงครามเซนต์จอร์จเบอร์ (St. George’s Caye) ในปี ค.ศ. 1798 และ อยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร มีสถานะเป็นอาณานิคมจนถึงปี ค.ศ. 1973 จนกระทั่งได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1981

การเมืองการปกครอง[แก้]

เบลีซมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ซึ่งพระมหากษัตริย์จะทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มีสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นประมุขพระองค์ปัจจุบัน ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านผู้สำเร็จราชการ (Governor-General)

นิติบัญญัติ[แก้]

ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาคู่

บริหาร[แก้]

นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมากจะได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จ ราชการ ส่วนคณะรัฐมนตรี ได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการ

ตุลาการ[แก้]

หัวหน้าผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จราชการ โดยการเสนอชื่อจากนายกรัฐมนตรี พรรคการเมืองสำคัญ People's United Party ( PUP) (พรรครัฐบาล)United Democratic Party (UDP)

การบังคับใช้กฎหมาย[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เบลีซแบ่งออกเป็น 6 เขต (districts) ได้แก่

  1. เขตเบลีซ
  2. เขตคาโย
  3. เขตโคโรซอล
  4. เขตออเรนจ์วอล์ก
  5. เขตสตันน์ครีก
  6. เขตโทเลโด

นโยบายต่างประเทศ[แก้]

กองทัพ[แก้]

กองทัพบก[แก้]

กองทัพอากาศ[แก้]

กองทัพเรือ[แก้]

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

การท่องเที่ยว[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

คมนาคม[แก้]

โทรคมนาคม[แก้]

สาธารณูปโภค[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

การศึกษา[แก้]

สาธารณสุข[แก้]

สวัสดิการสังคม[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

มีประชากรประมาณ 224,900 คน ชาวเบลีซส่วนใหญ่เป็นพวกมายา อินคา และครีโอล มีภาษามายา

ศาสนา[แก้]

นับถือศาสนาคริสต์ นิกายแองกลิแกน โปรแตสแตนท์ โรมันคาทอลิก

ภาษา[แก้]

ภาษาอังกฤษใช้เป็นภาษาทางการ และ ภาษาครีโอลเป็นภาษาพูด

วัฒนธรรม[แก้]

ดนตรี[แก้]

อาหาร[แก้]

สื่อสารมวลชน[แก้]

วันหยุด[แก้]

กีฬา[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. December 15, 2020. สืบค้นเมื่อ December 15, 2020.
  2. "Belize". World Bank.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]