ประเทศกัวเตมาลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กัวเตมาลา)

พิกัดภูมิศาสตร์: 15°30′N 90°15′W / 15.500°N 90.250°W / 15.500; -90.250

สาธารณรัฐกัวเตมาลา

República de Guatemala (สเปน)
คำขวัญ"เติบโตอย่างอิสระและอุดมสมบูรณ์"
(สเปน: Libre Crezca Fecundo)[1]
ที่ตั้งของ ประเทศกัวเตมาลา  (เขียวเข้ม) ในซีกโลกตะวันตก  (เทา)
ที่ตั้งของ ประเทศกัวเตมาลา  (เขียวเข้ม)

ในซีกโลกตะวันตก  (เทา)

เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
กัวเตมาลาซิตี
14°38′N 90°30′W / 14.633°N 90.500°W / 14.633; -90.500
ภาษาราชการสเปน
กลุ่มชาติพันธุ์
(ค.ศ. 2018[2])
ศาสนา
(ค.ศ. 2017)[3]
การปกครองรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดี
เบร์นาร์โด อาเรบาโล
คาริน เฮอร์เรรา
เนรี ราโมส
สภานิติบัญญัติสภาแห่งสาธารณรัฐ
เอกราช
• ประกาศ
จากจักรวรรดิสเปน
15 กันยายน ค.ศ. 1821
1 กรกฎาคม ค.ศ. 1823
• รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
31 พฤษภาคม ค.ศ. 1985
พื้นที่
• รวม
108,889 ตารางกิโลเมตร (42,042 ตารางไมล์) (อันดับที่ 105)
0.4
ประชากร
• ค.ศ. 2018 ประมาณ
เพิ่มขึ้นเป็นกลาง 17,263,239[4] (อันดับที่ 67)
129 ต่อตารางกิโลเมตร (334.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 85)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) ค.ศ. 2018 (ประมาณ)
• รวม
145.249 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 75)
8,413 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 118)
จีดีพี (ราคาตลาด) ค.ศ. 2018 (ประมาณ)
• รวม
79.109 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 68)
4,582 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 103)
จีนี (ค.ศ. 2014)48.3[5]
สูง
เอชดีไอ (ค.ศ. 2019)เพิ่มขึ้น 0.663[6]
ปานกลาง · อันดับที่ 127
สกุลเงินเกตซัล (GTQ)
เขตเวลาUTC−6 (เขตเวลาตอนกลาง)
รูปแบบวันที่วว/ดด/ปปปป
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์+502
โดเมนบนสุด.gt

กัวเตมาลา (สเปน: Guatemala, ออกเสียง: [ɡwateˈmala] ( ฟังเสียง)) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (สเปน: República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร์

ภูมิศาสตร์[แก้]

ลักษณะภูมิประเทศ[แก้]

เกือบทั้งประเทศเป็นภูเขามีที่ราบต่ำชายฝั่งและที่ราบหินปูน

ลักษณะภูมิอากาศ[แก้]

ร้อนชื้นในบริเวณที่ราบต่ำและอากาศเย็นในบริเวณที่สูง

ประวัติศาสตร์[แก้]

ประวัติชนพื้นเมืองโบราณที่สำคัญของประเทศกัวเตมาลาคือ ชนเผ่ามายา

การเมือง[แก้]

พรรคการเมืองสำคัญ[แก้]

  • Grand National Alliance (พรรครัฐบาล)
  • Democratic Alliance
  • Guatemalan Republic Front
  • National Liberal Movement
  • National Guatemalan Revolutionary Unity

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

แผนที่เขตการปกครองของประเทศกัวเตมาลา

ประเทศกัวเตมาลาแบ่งออกเป็น 22 จังหวัด (departamento) ได้แก่

  1. อัลตาเบราปัซ (Alta Verapaz)
  2. บาฮาเบราปัซ (Baja Verapaz)
  3. ชิมัลเตนังโก (Chimaltenango)
  4. ชิกิมูลา (Chiquimula)
  5. เปเตน (El Petén)
  6. เอลโปรเกรโซ (El Progreso)
  7. เอลกิเช (El Quiché)
  8. เอสกูอินตลา (Escuintla)
  9. กัวเตมาลา (Guatemala)
  10. เวเวเตนังโก (Huehuetenango)
  11. อิซาบัล (Izabal)
  12. ฮาลาปา (Jalapa)
  13. ฮูเตียปา (Jutiapa)
  14. เกตซัลเตนังโก (Quetzaltenango)
  15. เรตาลูเลว (Retalhuleu)
  16. ซากาเตเปเกซ (Sacatepéquez)
  17. ซานมาร์โกส (San Marcos)
  18. ซานตาโรซา (Santa Rosa)
  19. โซโลลา (Sololá)
  20. ซูชิเตเปเกซ (Suchitepequez)
  21. โตโตนิกาปัน (Totonicapán)
  22. ซากาปา (Zacapa)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ[แก้]

ความสัมพันธ์กับประเทศไทย[แก้]

สาธารณรัฐกัวเตมาลากับราชอาณาจักรไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2500 โดยถือเป็นประเทศแรกในภูมิภาคอเมริกากลางที่สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทย กัวเตมาลามีสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยที่กรุงเทพมหานคร โดยเป็นประเทศลาตินอเมริกาประเทศแรกที่เปิดสถานเอกอัครราชทูตในประเทศไทยเมื่อปี 2531[7] และสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก มีเขตอาณาครอบคลุมกัวเตมาลา

ในปี 2558 กัวเตมาลาเป็นคู่ค้าอันดับที่ 10 ของไทยในลาตินอเมริกา

ในปี 2560 มีนักท่องเที่ยวชาวกัวเตมาลาเดินทางมาประเทศไทยจำนวน 937 คน[8]

อ้างอิง[แก้]

  1. Banco de Guatemala 1996.
  2. https://www.censopoblacion.gt/mapas
  3. "International Religious Freedom Report for 2017: Guatemala". www.state.gov. สืบค้นเมื่อ 27 July 2018.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 "World Economic Outlook Database, October 2018". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 7 March 2019.
  5. "GINI index (World Bank estimate)". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 7 March 2019.
  6. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  7. "ข้อมูลความสัมพันธ์ทวิภาคี : ไทย - กัวเตมาลา". กรมอเมริกาและแปซิฟิก. 6 ธันวาคม 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-05. สืบค้นเมื่อ 2021-09-24.
  8. "ความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐกัวเตมาลา". กระทรวงการต่างประเทศ. 21 มกราคม 2563.

บรรณานุกรม[แก้]

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]