เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย
เขตปกครองตนเองชนชาติหุย หนิงเซี่ย 宁夏回族自治区 | |
---|---|
การถอดเสียงภาษาจีน | |
• อักษรจีน | 宁夏回族自治区 (Níngxià Huízú Zìzhìqū) |
• ชื่อย่อ | NX / หนิง (宁 Níng) |
แผนที่แสดงที่ตั้งของเขตปกครองตนเองชนชาติหุย หนิงเซี่ย | |
ตั้งชื่อจาก | หนิง (宁 níng) — สงบ เซี่ย (夏 xià) — เซี่ยตะวันตก |
เมืองหลวง (และเมืองใหญ่สุด) | อิ๋นชวน |
เขตการปกครอง | 5 จังหวัด, 21 อำเภอ, 219 ตำบล |
การปกครอง | |
• เลขาธิการพรรค | เฉิน รุ่นเอ๋อร์ (陈润儿) |
• ประธาน | เสียน ฮุย (咸辉) |
พื้นที่[1] | |
• ทั้งหมด | 66,399.73 ตร.กม. (25,637.08 ตร.ไมล์) |
อันดับพื้นที่ | อันดับที่ 27 |
ความสูงจุดสูงสุด | 3,556 เมตร (11,667 ฟุต) |
ประชากร (2020)[2] | |
• ทั้งหมด | 7,202,654 คน |
• อันดับ | อันดับที่ 29 |
• ความหนาแน่น | 89.1 คน/ตร.กม. (231 คน/ตร.ไมล์) |
• อันดับความหนาแน่น | อันดับที่ 25 |
ประชากรศาสตร์ | |
• องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ | ฮั่น: 62% หุย: 38% |
• ภาษาและภาษาถิ่น | Lanyin Mandarin, Zhongyuan Mandarin |
รหัส ISO 3166 | CN-NX |
GDP (2020) | 392 พันล้านเหรินหมินปี้ (อันดับที่ 29)[3] |
- ต่อหัว | 54,432 เหรินหมินปี้ (อันดับที่ 21) |
HDI (2018) | 0.745[4] (สูง) (อันดับที่ 22) |
เว็บไซต์ | www |
เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย (อังกฤษ: Ningxia Hui Autonomous Region; จีน: 宁夏回族自治区 ชื่อย่อ "หนิง" (宁)) เป็นหนึ่งในห้าเขตปกครองตนเองของจีน ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ทางตอนบนของแม่น้ำหวงเหอ (แม่น้ำเหลือง) มีเมืองหลวงชื่อ อิ๋นชวน
ที่ตั้งและอาณาเขต
[แก้]เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุยมีพื้นที่ติดต่อดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ประเทศจีน
- ทิศใต้ ติดต่อกับ มณฑลกานซู ประเทศจีน
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับ มณฑลฉ่านซี ประเทศจีน
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับ มณฑลกานซู ประเทศจีน
การแบ่งเขตการปกครอง
[แก้]เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 5 นครระดับจังหวัด (市) 2 นครระดับอำเภอ (市) 11 อำเภอ (县) 8 เขต (区) และ 29 อำเภอปกครองตนเอง (自治县)
เขตปกครองของหนิงเซี่ยหุย | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รหัสเขต[5] | เขต | พื้นที่ในตารางกิโลเมตร[6] | ปรระชากรใน ค.ศ. 2010[7] | ที่ตั้ง | จำนวน[8] | |||
อำเภอ | เทศมณฑล | นครระดับเทศมณฑล | ||||||
640000 | เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย | 66400.00 | 6,301,350 | เมืองอิ๋นชวน | 9 | 11 | 2 | |
640100 | เมืองอิ๋นชวน | 8874.61 | 1,993,088 | อำเภอจินเฝิ้ง | 3 | 2 | 1 | |
640200 | เมืองฉือซุ่ยซาน | 5208.13 | 725,482 | อำเภอต้าหวูโข่ว | 2 | 1 | ||
640300 | เมืองหวูจง | 21420.14 | 1,273,792 | อำเภอหลี่ตง | 2 | 2 | 1 | |
640400 | เมืองกู้หยวน | 13449.03 | 1,228,156 | อำเภอหยวนโจว | 1 | 4 | ||
640500 | เมืองจงเว่ย | 17448.09 | 1,080,832 | อำเภอชาโปโถว | 1 | 2 |
เขตปกครองในภาษาจีนและทับศัพท์ | ||||
---|---|---|---|---|
ไทย | จีน | พินอิน | เสี่ยวเอ้อร์ | |
เขตปกครองตนเองหนิงเซี่ยหุย | 宁夏回族自治区 | Níngxià Huízú Zìzhìqū | نِئٍثِيَا خُوِزُو زِجِٿِيُوِ | |
เมืองอิ๋นชวน | 银川市 | Yínchuān Shì | ءٍچُوًا شِ | |
เมืองฉือซุ่ยซาน | 石嘴山市 | Shízuǐshān Shì | شِظُوِشًا شِ | |
เมืองหวูจง | 吴忠市 | Wúzhōng Shì | وُجْو شِ | |
เมืองกู้หยวน | 固原市 | Gùyuán Shì | قُيُوًا شِ | |
เมืองจงเว่ย | 中卫市 | Zhōngwèi Shì | جْووِ شِ |
อิ๋นชวน (银川市) | ||
---|---|---|
ประเภท | ชื่อ | |
เขต | ซิงชิ่ง (兴庆区) จินเฝิ้ง (金凤区) ซีเซี่ย (西夏区) | |
เมือง | หลิงอู่ (灵武市) | |
อำเภอ | หย่งหนิง (永宁县) เห้อหลาน (贺兰县) | |
เมืองฉือซุ่ยซาน (石嘴山市) | ||
ประเภท | ชื่อ | |
เขต | ต้าหวูโข่ว (大武口区) หุ้ยหนง (惠农区) | |
อำเภอ | ผิงโหล (平罗县) | |
เมืองหวูจง (吴忠市) | ||
ประเภท | ชื่อ | |
เขต | หลี่ตง (利通区) | |
เมือง | ชินถงเสีย (青铜峡市) | |
อำเภอ | เหยียนฉือ (盐池县) ถงซิน (同心县) | |
เมืองกู้หยวน (固原市) | ||
ประเภท | ชื่อ | |
เขต | หยวนโจว (原州区) | |
อำเภอ | ซีจี๋ (西吉县) หลงเต๋อ (隆德县) จิงหยวน (泾源县) เผิงหยาง (彭阳县) | |
เมืองจงเว่ย (中卫市) | ||
ประเภท | ชื่อ | |
เขต | ชาโปโถว (沙坡头区) | |
อำเภอ | จงหนิง (中宁县) ไห่หยวน (海原县) |
ภูมิประเทศ
[แก้]ภูมิประเทศทางใต้เป็นที่ราบสูงหวงถู่ พื้นที่ทางเหนือลาดต่ำเป็นบริเวณที่ราบหนิงเซี่ย ซึ่งมีพื้นที่เป็น 1 ใน 4 ของประเทศ พื้นที่โดยทั่วไปสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,100–2,000 เมตร จุดสูงสุด 3,556 เมตร
ทรัพยากร
[แก้]แร่ธาตุ ที่สำรวจพบแล้วมีกว่า 50 ชนิด แร่อโลหะที่สำคัญได้แก่ ถ่านหิน ยิปซัม น้ำมันปิโตเลียม ก๊าซธรรมชาติ ดินเกาลิน
ภูมิอากาศ
[แก้]สภาพอากาศแบบภาคพื้นทวีปเขตอบอุ่นกึ่งแห้งแล้ง อุณหภูมิสูงต่ำแตกต่างอย่างมาก ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 200-600 มิลลิเมตร/ปี
เศรษฐกิจ
[แก้]เกษตรกรรม
[แก้]หนิงเซี่ยมีการพัฒนาการเกษตรให้เป็นแบบอุตสาหกรรม ซึ่งกลายมาเป็นแกนหลักของเศรษฐกิจในชนบท พืชเกษตร สำคัญได้แก่ ผลไม้ประเภทแตง แอปเปิล
อุตสาหกรรม
[แก้]ปี พ.ศ. 2546 การเติบโตของภาคอุตสาหกรรมคิดเป็น 16.3% โดยอุตสาหกรรมขนาดใหญ่แบ่งเป็นอุตสาหกรรมเบาเติบโตขึ้น 27.4% อุตสาหกรรมหนัก 17.2%
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Administrative Divisions (2013)". Ningxia Statistical Yearbook 2014. Statistical Bureau of Ningxia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 19 December 2015.
- ↑ "Communiqué of the Seventh National Population Census (No. 3)" (ภาษาอังกฤษ). National Bureau of Statistics of China. 11 May 2021. สืบค้นเมื่อ 11 May 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ GDP-2020 is a preliminary data "Home - Regional - Quarterly by Province" (Press release) (ภาษาอังกฤษ). China NBS. March 1, 2021. สืบค้นเมื่อ March 23, 2021.
- ↑ United Nations Development Programme; China Institute for Development Planning at Tsinghua University; State Information Center (2019). China National Human Development Report Special Edition—In Pursuit of a More Sustainable Future for All: China’s Historic Transformation over Four Decades of Human Development (PDF) (Report) (ภาษาอังกฤษ). Beijing: China Translation Publishing House. ISBN 978-7-5001-6138-7.
- ↑ "Zhōnghuá rénmín gònghéguó xiàn yǐshàng xíngzhèng qūhuà dàimǎ" 中华人民共和国县以上行政区划代码 [Code of Administrative Divisions Above the County Level of the People's Republic of China] (ภาษาจีนตัวย่อ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-02. สืบค้นเมื่อ 2022-05-03 – โดยทาง Ministry of Civil Affairs.
- ↑ Shenzhen Bureau of Statistics. Shēnzhèn tǒngjì niánjiàn 2014 / 2014 Shenzhen Statistical Yearbook 深圳统计年鉴2014 (ภาษาจีนตัวย่อ และ อังกฤษ). China Statistics Print. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2015. สืบค้นเมื่อ 29 May 2015.
- ↑ Census Office of the State Council of the People's Republic of China; Population and Employment Statistics Division of the National Bureau of Statistics of the People's Republic of China (2012). Zhōngguó 2010 rénkǒu pǔchá fēn xiāng, zhèn, jiēdào zīliào 中国2010人口普查分乡、镇、街道资料 (1 ed.). Beijing: China Statistics Print. ISBN 978-7-5037-6660-2.
- ↑ Zhonghua renmin gongheguo minzhengbu (2014). Zhōngguó mínzhèng tǒngjì niánjiàn 2014 中国民政统计年鉴2014 (ภาษาจีนตัวย่อ). Zhongguo tongji chuban she. ISBN 978-7-5037-7130-9.