รอยัลจอร์แดเนียน
| |||||||
ก่อตั้ง | 9 ธันวาคม ค.ศ. 1963 (60 ปี) (ในชื่อ อาลียารอยัลจอร์แดเนียน) | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ท่าหลัก | อัมมาน | ||||||
เมืองสำคัญ | อัลอะเกาะบะฮ์ | ||||||
สะสมไมล์ | รอยัลคลับ[1] | ||||||
พันธมิตรการบิน | วันเวิลด์ | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 30 | ||||||
จุดหมาย | 51[2] | ||||||
สำนักงานใหญ่ | อัมมาน, ประเทศจอร์แดน | ||||||
บุคลากรหลัก | Samer Majali (ผู้จัดการใหญ่และซีอีโอ)[3] Saeed Darwazeh (ประธาน)[4] | ||||||
เว็บไซต์ | www |
รอยัลจอร์แดเนียนแอร์ไลน์ (อาหรับ: الملكية الأردنية) หรือชื่อเดิม อาลียารอยัลจอร์แดเนียนแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติและสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจอร์แดน โดยมีฐานการบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติสมเด็จพระราชินีอาลียาในอัมมาน รอยัลจอร์แดเนียนให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 56 แห่งในตะวันออกกลาง เอเชีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกาเหนือ รอยัลจอร์แดเนียนเป็นสมาชิกของกลุ่มพันธมิตรสายการบินวันเวิลด์และองค์การสายการบินอาหรับ[5]
กิจการองค์กร
[แก้]สำนักงานใหญ่
[แก้]ในปี 2009 รอยัลจอร์แดเนียนได้ว่าจ้างให้บริษัท Haddadinco Engineering Company for Contracting สร้างสำนักงานใหญ่แห่งใหม่ในอัมมาน[6] โดยตัวอาคารได้รับการออกแบบโดยนีลส์ ทอร์ป[7] อาคารใหม่แล้วเสร็จในปลายปี 2011 และได้เริ่มการปฏิบัติการณ์เมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 2012
ผลประกอบการ
[แก้]ผลประกอบการของรอยัลจอร์แดเนียน ในช่วงปี 2002-2022 มีดังนี้:
2012 | 2013 | 2014 | 2015 | 2016 | 2017 | 2018 | 2019 | 2020 | 2021 | 2022 | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายได้ (ล้านดีนาร์จอร์แดน) | 1.1 | −38.8 | −39.6 | 16.0 | −24.5 | 0.27 | −5.8 | 10.3 | −161 | −74.2 | −78.8 |
จำนวนพนักงาน (คน) | 4,541 | 4,643 | 4,543 | 4,394 | 4,185 | 4,135 | 4,054 | 4,018 | 3,599 | 3,437 | 3,913 |
จำนวนผู้โดยสาร (ล้านคน) | 3.3 | 3.3 | 3.2 | 2.9 | 3.0 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 0.75 | 1.6 | 3.0 |
อัตราการบรรทุกผู้โดยสาร (%) | 73 | 70 | 70 | 67 | 65 | 71 | 73.8 | 74.2 | 65.4 | 67.9 | 77 |
จำนวนอากาศยาน (ณ สิ้นปี) | 29 | 32 | 28 | 27 | 26 | 26 | 26 | 27 | 23 | 24 | 27 |
หมายเหตุ/อ้างอิง | [8] | [8] | [9] | [10] | [11] |
จุดหมายปลายทาง
[แก้]ข้อตกลงการบินร่วม
[แก้]รอยัลจอร์แดเนียนได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:[12]
ฝูงบิน
[แก้]ฝูงบินปัจจุบัน
[แก้]ณ เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2024 รอยัลรอ์แดเนียนมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[13]
เครื่องบิน | ประจำการ | คำสั่งซื้อ | ผู้โดยสาร | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|---|
C | Y | รวม | ||||
แอร์บัส เอ319-100 | 3 | — | 12 | 108 | 120 | หนึ่งลำสวมลวดลายวันเวิลด์ (JY-AYP)[14] |
แอร์บัส เอ320-200 | 9 | — | 16 | 120 | 136 | [14] |
12 | 138 | 150 | ||||
— | 180 | 180 | ||||
แอร์บัส เอ320นีโอ | — | 20 | รอประกาศ | เริ่มส่งมอบในปี 2025[15] | ||
แอร์บัส เอ321-200 | 3 | — | 20 | 142 | 162 | นึ่งลำสวมลวดลายย้อนยุค (JY-AYV)[14] |
โบอิง 787-8 | 7 | — | 24 | 246 | 270[16] | หนึ่งลำสวมลวดลาย สำรวจเปตรา (JY-BAH) |
โบอิง 787-9 | — | 6[17] | รอประกาศ | |||
เอ็มบราเออร์ อี175 | 2 | — | 12 | 60 | 72[18] | |
เอ็มบราเออร์ อี195 | 1 | — | 12 | 88 | 100[19] | |
เอ็มบราเออร์ อี190-อี2 | 2 | 2 | 12 | 80 | 92 | เริ่มส่งมอบในปลายปี 2023[20] |
เอ็มบราเออร์ อี195-อี2 | 2 | 2 | 12 | 108 | 120 | |
ฝูงบินของรอยัลจอร์แดเนียนคาร์โก | ||||||
แอร์บัส เอ321-200P2F | 1 | — | สินค้า | |||
รวม | 30 | 30 |
รอยัลจอร์แดเนียนมีอายุฝูงบินเฉลี่ย 11.1 ปี
ฝูงบินในอดีต
[แก้]รอยัลจอร์แดเนียนเคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:[21]
เครื่องบิน | จำนวน | เริ่มประจำการ | ปลดประจำการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
แอร์บัส เอ310-200 | 2 | 1999 | 2000 | |
แอร์บัส เอ310-300 | 11 | 1987 | 2012 | |
แอร์บัส เอ330-200 | 3 | 2010 | 2017 | |
แอร์บัส เอ340-200 | 4 | 2002 | 2014 | |
โบอิง 707-320ซี | 14 | 1976 | 1996 | |
โบอิง 720บี | 2 | 1972 | 1983 | |
โบอิง 727-200 | 7 | 1974 | 1990 | JY-ADU ถูกนำออกจากประจำการในเที่ยวบินที่ 600 |
โบอิง 747-200 | 2 | 1977 | 1989 | |
บอมบาร์ดิเอร์ คิว400[22][23][24] | 2 | 2005 | 2008 | |
ดักลาส ดีซี-6 | 1 | 1966 | 1972 | |
ดักลาส ดีซี-7 | 21 | 1963 | 1967 | |
ฟอกเกอร์ เอฟ-27 | 2 | 1967 | 1969 | |
ฟอกเกอร์ เอฟ-28 | 1 | 2000 | 2007 | |
แฮนลีย์ เพจ ดาร์ท เฮรัลด์ | 2 | 1964 | 1965 | |
ล็อคฮีด แอล-1011-500 ไตรสตาร์ | 5 | 1981 | 1999 | |
ซูว์ดาวียาซียงการาแวล 10บี | 3 | 1965 | 1975 | |
วิกเกอร์ส ไวเคานท์ | 5 | 1961 | 1967 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Arabian Aerospace – Royal Jordanian launch all new frequent flyer programme". www.arabianaerospace.aero.
- ↑ "Royal Jordanian on ch-aviation". ch-aviation (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-12-02.
- ↑ "Samer Majali designated to assume the role of RJS President CEO - Royal Jordanian".
- ↑ "Royal Jordanian CEO Pichler Is Said to Have Resigned Last Month". Bloomberg. 8 October 2020. สืบค้นเมื่อ 11 November 2020.
- ↑ "Royal Jordanian - oneworld Member Airline". www.oneworld.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-01-20.
- ↑ "RJ News" เก็บถาวร 2012-02-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Royal Jordanian. 24 November 2009. Retrieved on 13 December 2009.
- ↑ "Niels Torp: airline headquarters, Amman, Jordan.(Work)(Royal Jordanian Airlines has new corporate headquarters)". Architectural Review. 1 January 2007. Retrieved on 13 February 2010.
- ↑ 8.0 8.1 "RJ AR 2013" (PDF). RJ.
- ↑ "RJ AR 2014" (PDF). RJ.
- ↑ "RJ Annual Report 2015" (PDF). RJ.
- ↑ "RJ Annual Report 2016" (PDF). RJ.
- ↑ "Codeshare Flights - Royal Jordanian". rj.com. สืบค้นเมื่อ 2022-01-30.
- ↑ "Royal Jordanian Fleet Details and History". Planespotters.net (ภาษาอังกฤษ). 2023-12-02.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 "Royal Jordanian Fleet Details and History". www.planespotters.net. Jan 16, 2023. สืบค้นเมื่อ 2023-01-16.
- ↑ Sipinski, Dominik (7 May 2024). "Royal Jordanian takes first E190-E2, A320neo delayed". ch-aviation.com (ภาษาอังกฤษ).
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Boeing 787 Dreamliner". rj.com. Royal Jordanian Airlines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 19 November 2016.
- ↑ "Royal Jordanian Grows its Long-Haul Fleet With Order for Boeing 787-9 Dreamliners". Boeing Media Room. 13 November 2023.
- ↑ "Embraer 175". rj.com. Royal Jordanian Airlines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 19 November 2016.
- ↑ "Embraer 195". rj.com. Royal Jordanian Airlines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 19 November 2016.
- ↑ "Embraer and Azorra Seal Deal with Royal Jordanian Airlines for Eight New E2 Jets". PRNewswire. May 18, 2023. สืบค้นเมื่อ May 18, 2023.
- ↑ Klee, Ulrich & Bucher, Frank et al.: jp airline-fleets international. Zürich-Airport 1967–2007.
- ↑ "Royal Jordanian Airlines First To Operate Bombardier Q400 In Middle East – Bombardier". www.bombardier.com. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.
- ↑ "S2-AGV US-Bangla Airlines De Havilland Canada DHC-8-400". www.planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.
- ↑ "S2-AGU US-Bangla Airlines De Havilland Canada DHC-8-400". www.planespotters.net. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.