ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มณฑลไหหลำ"

พิกัด: 19°12′N 109°42′E / 19.2°N 109.7°E / 19.2; 109.7
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหัวเรื่อง ประวัติ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 79: บรรทัด 79:


'''มณฑลไหหลำ''' หรือ '''ไห่หนาน''' ({{zh|s={{Audio|Hainan.ogg|海南|help=no}}}}) เป็น[[มณฑลของประเทศจีน|มณฑล]]ของ[[ประเทศจีน|สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะใน[[ทะเลจีนใต้]] โดยเกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ ซึ่งมี[[ช่องแคบฉฺยงโจว]]คั่นกลางระหว่าง[[คาบสมุทรเหลย์โจว]]ของ[[มณฑลกวางตุ้ง]]กับเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองเอกคือ [[ไหโข่ว]]
'''มณฑลไหหลำ''' หรือ '''ไห่หนาน''' ({{zh|s={{Audio|Hainan.ogg|海南|help=no}}}}) เป็น[[มณฑลของประเทศจีน|มณฑล]]ของ[[ประเทศจีน|สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะใน[[ทะเลจีนใต้]] โดยเกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ ซึ่งมี[[ช่องแคบฉฺยงโจว]]คั่นกลางระหว่าง[[คาบสมุทรเหลย์โจว]]ของ[[มณฑลกวางตุ้ง]]กับเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองเอกคือ [[ไหโข่ว]]

== ประวัติ ==

<!--ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1980 เกาะไหหลำยังคงเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลกวางตุ้ง ขณะนั้นมีความกระตือรือร้นโดยผู้บริหารเขตพิเศษไห่หนาน Lei Yu ที่ต้องการแยกห่หนานออกจากมณฑลกวางตุ้งให้มีสถานะมณฑล(แห่งใหม่) [11] โดยอ้างปัจจัยทางการตลาดและการลงทุน โดยเฉพาะการสร้างสถานะในการเป็นแหล่งพักของสินค้าปลอดภาษีซึ่งนำเข้าจากฮ่องกง ได้แก่รถยนต์และรถบรรทุกที่ผลิตจากญี่ปุ่น และส่งไปขายยังแผ่นดินใหญ่ นอกจากนี้ยังมีการส่งโทรทัศน์ เครื่องบันทึกวิดีโอ และรถจักรยานยนต์ไปยังแผ่นดินใหญ่ ซึ่งงบประมาณถูกนำมาจากกองทุนของรัฐบาลกลางปี ​​1983 ซึ่งกำหนดไว้สำหรับการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมของเกาะ (ถนนทางรถไฟสนามบินท่าเรือ) ในช่วงสิบปีข้างหน้า [ต้องการอ้างอิง]-->


วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ได้กลายเป็นเขตปกครองไห่หนาน (海南行政区) โดยรัฐบาลจีน ซึ่งยังเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลกวางตุ้ง และแยกมณฑลออกจากกวางตุ้ง ในปี 2531 หลังการแยกออกเป็นมณฑล ไห่หนานถูกกำหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อการลงทุนโดยจากนักลงทุนชาวจีนโพ้นทะเล ซึ่งจัดอยู่ใน [[เขตเศรษฐกิจพิเศษของจีน]] (SEZs) ส่วนหนึ่งของ[[การปฏิรูปเศรษฐกิจจีน]]


== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:25, 2 พฤศจิกายน 2563

มณฑลไหหลำ

海南省
การถอดเสียง 
 • ภาษาจีนไห่หนานเฉิ่ง (海南省 Hǎinán Shěng)
 • ชื่อย่อHI / ฉฺยง ( Qióng)
 • ภาษาไหหลำHái-nâm-séng
 • ภาษาจีนกวางตุ้งHoi2 Naam4 Saang2
แผนที่แสดงที่ตั้งของมณฑลไหหลำ
แผนที่แสดงที่ตั้งของมณฑลไหหลำ
พิกัด: 19°12′N 109°42′E / 19.2°N 109.7°E / 19.2; 109.7
ตั้งชื่อจากไห่ ( hǎi) — "ทะเล"
หนาน ( nán) — "ใต้"
"ทางใต้ของทะเล (ช่องแคบฉฺยงโจว)"
เมืองเอก
(และเมืองใหญ่สุด)
ไหโข่ว
เขตการปกครอง4 จังหวัด, 20 เทศมณฑล, 218 ตำบล
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคหลิว ชี่กุ้ย
 • ผู้ว่าการเฉิ่น เสี่ยวหมิง
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด35,354 ตร.กม. (13,650 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับที่ 28
ความสูงจุดสูงสุด1,840 เมตร (6,040 ฟุต)
ประชากร
 (2017)[2]
 • ทั้งหมด9,257,600 คน
 • อันดับอันดับที่ 28
 • ความหนาแน่น260 คน/ตร.กม. (680 คน/ตร.ไมล์)
 • อันดับความหนาแน่นอันดับที่ 17
ประชากรศาสตร์
 • ชาติพันธุ์ฮั่น: 82.6%
หลี: 15.84%
ม้ง: 0.82%
จ้วง: 0.67%
 • ภาษาและภาษาถิ่นภาษาไหหลำ, ภาษาจีนกวางตุ้ง, ภาษาไหล
รหัส ISO 3166CN-HI
GDP (2017[3])446.25 พันล้านเหรินหมินปี้ (อันดับที่ 28)
 • ต่อหัว48,429 (อันดับที่ 17)
HDI (2014)0.738[4] (สูง) (อันดับที่ 19)
เว็บไซต์ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน

มณฑลไหหลำ หรือ ไห่หนาน (จีน: 海南) เป็นมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะในทะเลจีนใต้ โดยเกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ ซึ่งมีช่องแคบฉฺยงโจวคั่นกลางระหว่างคาบสมุทรเหลย์โจวของมณฑลกวางตุ้งกับเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองเอกคือ ไหโข่ว

ประวัติ

วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ได้กลายเป็นเขตปกครองไห่หนาน (海南行政区) โดยรัฐบาลจีน ซึ่งยังเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลกวางตุ้ง และแยกมณฑลออกจากกวางตุ้ง ในปี 2531 หลังการแยกออกเป็นมณฑล ไห่หนานถูกกำหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อการลงทุนโดยจากนักลงทุนชาวจีนโพ้นทะเล ซึ่งจัดอยู่ใน เขตเศรษฐกิจพิเศษของจีน (SEZs) ส่วนหนึ่งของการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน

การแบ่งเขตการปกครอง

มณฑลไหหลำใช้ระบบการแบ่งเขตปกครองต่างจากมณฑลและเขตปกครองอื่น ๆ ของประเทศจีน โดยปกติ มณฑลส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็นระดับจังหวัด แต่ละจังหวัดแบ่งออกเป็นระดับเทศมณฑล (อำเภอ) ดังนั้น ระดับเทศมณฑลจะไม่เป็นหน่วยย่อยของมณฑลโดยตรง แต่ในมณฑลไหหลำ เกือบทุกเขตปกครองระดับเทศมณฑลจะเป็นหน่อยย่อยของมณฑลโดยตรง (ยกเว้น 8 เขตในไหโข่วและซานย่า) วิธีการปกครองแบบนี้เกิดจากประชากรของมณฑลไหหลำที่เบาบาง ซึ่งมีประมาณ 8 ล้านคน และสิ้นปี ค.ศ. 2017 มีประชากรจำนวน 9.26 ล้านคน[5]

แผนที่ของมณฑลไหหลำ
ระดับจังหวัด
  • (1) นครไหโข่ว (海口市) ซึ่งแบ่งต่อออกไปอีก 4 เขต:
    • เขตหลงหฺวา (龙华区)
    • เขตซิ่วยิง (秀英区)
    • เขตฉยงชาน (琼山区)
    • เขตเหม่ย์หลาน (美兰区)
  • (2) นครซานย่า (三亚市)
    • เขตจี๋หยาง (吉阳区)
    • เขตเทียนหยา (天涯区)
    • เขตไห่ถัง (海棠区)
    • เขตหยาโจว (崖州区)
  • (19) นครซันชา (三沙市)
  • (3) นครตานโจว (儋州市)
ระดับเทศมณฑล (อำเภอ)
  • นครระดับเทศมณฑล:
    • (8) นครเหวินชาง (文昌市)
    • (4) นครฉงไห่ (琼海市)
    • (5) นครวั่นหนิง (万宁市)
    • (6) นครอู๋จื่อชาน (五指山市)
    • (7) นครตงฟาง (東方市)
  • เทศมณฑล:
    • (9) เทศมณฑลหลินเกา (臨高縣)
    • (10) เทศมณฑลเฉิงไม่ (澄邁縣)
    • (11) เทศมณฑลติ้งอัน (定安縣)
    • (12) เทมณฑลถุนชาง (屯昌縣)
  • เขตปกครองตนเอง:
    • (13) เขตปกครองตนเองชนชาติหลี ชางเจียง (昌江黎族自治縣)
    • (14) เขตปกครองตนเองชนชาติหลี ไป๋ชา (白沙黎族自治縣)
    • (15) เขตปกครองตนเองชนชาติหลีและม้ง ฉงจง (琼中黎族苗族自治縣)
    • (16) เขตปกครองตนเองชนชาติหลี หลิงฉุ่ย (陵水黎族自治縣)
    • (17) เขตปกครองตนเองชนชาติหลีและม้ง เป่าถิง (保亭黎族苗族自治縣)
    • (18) เขตปกครองตนเองชนชาติหลี เล่อตง (乐东黎族自治縣)

อ้างอิง

  1. "Doing Business in China - Survey". Ministry of Commerce - People's Republic of China. สืบค้นเมื่อ 5 August 2013.
  2. "People's Government of HaiNan Province". en.hainan.gov.cn.
  3. "海南省2017年国民经济和社会发展统计公报" [Statistical Communiqué of Hainan Province on the 2017 National Economic and Social Development] (ภาษาChinese). Statistical Bureau of Hainan Province. 2018-01-24. สืบค้นเมื่อ 2018-06-22.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  4. "《2013中国人类发展报告》" (PDF) (ภาษาChinese). United Nations Development Programme China. 2013. สืบค้นเมื่อ 2014-05-14.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  5. http://www.stats.gov.cn/tjsj/ndsj/2018/indexch.htm

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • D'Arcy Brown, Liam (2003). Green Dragon, Sombre Warrior: travels to China's extremes. London: John Murray. ISBN 0-7195-6038-1

แหล่งข้อมูลอื่น