เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก
ฤดูกาล2018
วันที่23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2018 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 2018
ทีมชนะเลิศคะวะซะกิ ฟรอนตาเล (สมัยที่ 2)
ตกชั้นคะชิวะ เรย์โซล
วี-วาเรน นะงะซะกิ
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส
อูราวะ เรดไดมอนส์
จำนวนนัด306
จำนวนประตู813 (2.66 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโฌ (นะโงะยะ แกรมปัส)
(24 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
คะวะซะกิ พบ คอนซาโดเล 7–0
(15 กันยายน)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
เวกัลตะ พบ มารินอส 2–8
(16 กรกฎาคม)
จำนวนประตูสูงสุดเวกัลตะ พบ มารินอส 2–8
(16 กรกฎาคม)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
9 – กัมบะ โอซะกะ
(นัดที่ 25–33)
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
12 – คอนซาโดเล ซัปโปะโระ
(นัดที่ 25–34)
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
15 – นะโงะยะ แกรมปัส
(นัดที่ 3–17)
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
8 – นะโงะยะ แกรมปัส
(นัดที่ 4–11)
จำนวนผู้ชมสูงสุด55,689 – อูราวะ พบ วิสเซล
(23 กันยายน,
นัดที่ 27)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด6,189 – ชิมิซุ พบ วี-วาเรน
(11 เมษายน,
นัดที่ 7)
จำนวนผู้ชมรวม5,833,538
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย19,064
2017
2019

การแข่งขันฟุตบอล เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2018 (หรือเป็นที่รู้จักในนาม เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก สำหรับเหตุผลด้านผู้สนับสนุน) เป็นฤดูกาลที่ 26 ของ เจลีก ดิวิชัน 1, ลีกอาชีพสูงสูดของญี่ปุ่นนับตั้งแต่การก่อตั้งในปี ค.ศ. 1993.

คะวะซะกิ ฟรอนตาเล คือทีมแชมป์เก่า.

สโมสรฤดูกาล 2018[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนาม ฤดูกาลที่ผ่านมา
ฮอกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปะโระ ฮกไกโด ซัปโปโระ โดม เจ1 (อันดับที่ 11)
เวกัลตะ เซนได มิยะงิ Yurtec Stadium Sendai เจ1 (อันดับที่ 12)
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส อิบารากิ สนามฟุตบอลคาชิมะ เจ1 (อันดับที่ 2)
อูราวะ เรดไดมอนส์ ไซตามะ สนามกีฬาไซตะมะ 2002 เจ1 (อันดับที่ 7)
คะชิวะ เรย์โซล ชิบะ สนามฟุตบอลฮิตาชิ คาชิวะ เจ1 (อันดับที่ 4)
เอฟซี โตเกียว โตเกียว สนามกีฬาอะยิโนะโมะโตะ เจ1 (อันดับที่ 13)
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล คานางาวะ สนามกรีฑาโทะโดะโระกิ เจ1 (ชนะเลิศ)
โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส นิสสัน สเตเดียม เจ1 (อันดับที่ 5)
โชนัน เบลมาเร โชนัน บีเอ็มดับบลิว สเตเดียม ฮิรัตสุกะ เจ2 (ชนะเลิศ)
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ชิซุโอะกะ ไอเอไอ สเตเดียม นิฮอนไดระ เจ1 (อันดับที่ 14)
จูบิโล อิวะตะ สนามกีฬายามาฮา เจ1 (อันดับที่ 6)
นะโงะยะ แกรมปัส ไอชิ สนามกีฬาปาโลมา มิซุโฮะ

สนามกีฬาโตโยตา

เจ2 (อันดับที่ 3)
กัมบะ โอซะกะ โอซะกะ พานาโซนิค สเตเดียม ซุอิตะ เจ1 (อันดับที่ 10)
เซเรซโซ โอซะกะ ยันมาร์ สเตเดียม นะงะอิ

สนามกีฬาคินโช

เจ1 (อันดับที่ 3)
วิสเซล โคเบะ เฮียวโงะ โนเอวีร์ สเตเดียม โคเบะ เจ1 (อันดับที่ 9)
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ ฮิโระชิมะ Edion Stadium Hiroshima เจ1 (อันดับที่ 15)
ซะงัน โทะสุ ซะงะ Best Amenity Stadium เจ1 (อันดับที่ 8)
วี-วาเรน นะงะซะกิ นะงะซะกิ Transcosmos Stadium Nagasaki เจ2 (อันดับที่ 2)

ข้อมูลสโมสรและชุดแข่งขัน[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีม กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุนด้านหน้าเสื้อแข่ง
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น โก โออิวะ[1] ญี่ปุ่น มิตสิโอะ โอกะซะวะระ ไนกี้ Lixil
เซเรซโซ โอซะกะ เกาหลีใต้ ยูน จ็อง-ฮวัน[2] ญี่ปุ่น โฮตะรุ ยะมะกุชิ พูมา ยันมาร์
คอนซาโดเล ซัปโปะโระ เซอร์เบีย มิไฮโล เปตรอวิช[3] ญี่ปุ่น ฮิโรกิ มิยะซะวะ คัปปา ชิโรอิ โคอิบิโตะ
โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส ออสเตรเลีย อันเก โปสเตโคกลู[4] ญี่ปุ่น ยูจิ นะกะซะวะ อาดิดาส นิสสัน
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล ญี่ปุ่น โทรุ โอนิกิ[5] ญี่ปุ่น ยุ โคบะยะชิ พูมา ฟูจิตสึ
กัมบะ โอซะกะ ญี่ปุ่น ซึเนะยะสุ มิยะโมโตะ[6] ญี่ปุ่น ยะสุฮิโตะ เอ็นโดะ อัมโบร พานาโซนิค
จูบิโล อิวะตะ ญี่ปุ่น ฮิโระชิ นานะมิ[7] ญี่ปุ่น นากิซะ ซะกุระอุชิ พูมา ยามาฮ่า
นะโงะยะ แกรมปัส ญี่ปุ่น ยะฮิโระ คะซะมะ[8] ญี่ปุ่น ฮิซะโตะ ซาโตะ มิซูโนะ โตโยต้า
อูราวะ เรดไดมอนส์ บราซิล ออสวัลโด จี อูลิไวรา ญี่ปุ่น โยซึเกะ คะชิวะกิ ไนกี้ - คะชิวะ เรย์โซล ญี่ปุ่น Nozomu Kato ญี่ปุ่น Hidekazu Otani โยเนกซ์ Hitachi
ชิมิซุ เอส-พัลส์ สวีเดน Jan Jönsson[9] ญี่ปุ่น Ryo Takeuchi พูมา - ซะงัน โทะสุ เกาหลีใต้ Kim Myung-hwi ญี่ปุ่น Yutaka Yoshida นิวบาลานซ์ DHC
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ ญี่ปุ่น Hiroshi Jofuku[10] ญี่ปุ่น Toshihiro Aoyama ไนกี้ Edion
โชนัน เบลมาเร เกาหลีใต้ Cho Kwi-jea[11] ญี่ปุ่น Kaoru Takayama เปนัลตี Meldia
เอฟซี โตเกียว ญี่ปุ่น เคนตะ ฮะเซกะวะ[12] เกาหลีใต้ จัง ฮยุน-ซู อัมโบร Lifeval
เวกัลตะ เซ็นได ญี่ปุ่น ซึซึมุ วะตะนะเบะ[13] ญี่ปุ่น ชินโกะ โทมิตะ อาดิดาส Iris Ohyama
วิสเซล โคเบะ สเปน ฆวน มานูเอล ลิโย[14] เยอรมนี ลูคัส โพด็อลสกี เอสิกส์ Rakuten
วี-วาเรน นะงะซะกิ ญี่ปุ่น ทะคุยะ ทะคะกิ[15] เนเธอร์แลนด์ ยอร์ดี บูอิจส์ ฮัมเมล }

ผู้เล่นต่างชาติ[แก้]

ชื่อผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา หมายถึงผู้เล่นคนนั้นได้ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะช่วงกลางฤดูกาล.

สโมสร ผู้เล่น 1 ผู้เล่น 2 ผู้เล่น 3 ผู้เล่น 4 ผู้เล่น 5 อื่นๆ Former
ฮอกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปะโระ อังกฤษ เจย์ โบธรอยด์ เกาหลีใต้ Gu Sung-yun เกาหลีใต้ Kim Min-tae ไทย ชนาธิป สรงกระสินธ์ บราซิล Jonathan Reis
บราซิล Julinho
เวกัลตะ เซนได บราซิล Rafaelson บราซิล Ramon Lopes เกาหลีใต้ Kim Jung-ya เกาหลีใต้ Lee Yun-oh เกาหลีเหนือ Ryang Yong-gi
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส บราซิล Leandro บราซิล Léo Silva บราซิล Serginho เกาหลีใต้ Jung Seung-hyun เกาหลีใต้ Kwoun Sun-tae บราซิล Pedro Júnior
อูราวะ เรดไดมอนส์ ออสเตรเลีย Andrew Nabbout บราซิล Fabrício บราซิล Maurício Antônio กูราเซา Quenten Martinus สโลวีเนีย Zlatan Ljubijankič
คะชิวะ เรย์โซล บราซิล Cristiano บราซิล Nathan Otávio เคนยา Michael Olunga เกาหลีใต้ Kim Bo-kyung เกาหลีใต้ Park Jeong-su บราซิล Ramon Lopes
เกาหลีใต้ Yun Suk-young
เอฟซี โตเกียว บราซิล Diego Oliveira บราซิล Lins บราซิล Lipe Veloso เกาหลีใต้ Jang Hyun-soo ไทย จักรกฤษณ์ เวชภิรมย์
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล บราซิล Caio César บราซิล Eduardo บราซิล Elsinho เกาหลีใต้ Jung Sung-ryong ฟิลิปปินส์ Jefferson Tabinas บราซิล Eduardo Neto
โยะโกะฮะมะ เอฟ มารินอส บราซิล Thiago Martins แคเมอรูน Olivier Boumal โปรตุเกส Hugo Vieira เซอร์เบีย Dušan Cvetinović เกาหลีใต้ Yun Il-lok รัสเซีย Ippei Shinozuka ออสเตรเลีย Milos Degenek
มาซิโดเนียเหนือ David Babunski
โชนัน เบลมาเร บราซิล André Bahia โครเอเชีย Mihael Mikić เกาหลีใต้ Lee Jeong-hyeop เซอร์เบีย Alen Stevanović
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ออสเตรเลีย Mitchell Duke บราซิล Crislan บราซิล Douglas บราซิล Freire เกาหลีใต้ Hwang Seok-ho เกาหลีเหนือ Jong Tae-se จีน Wu Shaocong
จูบิโล อิวะตะ บราซิล Adaílton โปแลนด์ Krzysztof Kaminski ตุรกี Eren Albayrak อุซเบกิสถาน Fozil Musaev บราซิล Guilherme Santos
บราซิล Gabriel Morbeck
นะโงะยะ แกรมปัส ออสเตรเลีย Mitchell Langerak บราซิล Eduardo Neto บราซิล Gabriel Xavier บราซิล บราซิล Willian Rocha บราซิล Washington
กัมบะ โอซะกะ บราซิล Ademilson บราซิล Fábio Aguiar เกาหลีใต้ Hwang Ui-jo เกาหลีใต้ Oh Jae-suk บราซิล Matheus Jesus
เซเรซโซ โอซะกะ บราซิล Souza โครเอเชีย Matej Jonjić เกาหลีใต้ Kim Jin-hyeon เกาหลีใต้ Yang Dong-hyun สเปน Osmar Barba ออสเตรเลีย Pierce Waring
ไทย เชาว์วัฒน์ วีระชาติ
วิสเซล โคเบะ บราซิล Wellington เยอรมนี ลูคัส โพดอลสกี เกาหลีใต้ Kim Seung-gyu สเปน อันเดรส อีเนียสตา ไทย ธีราทร บุญมาทัน
ประเทศกาตาร์ Ahmed Yasser
บราซิล Leandro Montera
เกาหลีใต้ Jung Woo-young
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ คอซอวอ Besart Berisha บราซิล Felipe Silva บราซิล Patric ไทย ธีรศิลป์ แดงดา
ซะงัน โทะสุ เลบานอน Joan Oumari เกาหลีใต้ Cho Dong-geon เกาหลีใต้ Kim Min-hyeok สเปน เฟร์นันโด ตอร์เรส โคลอมเบีย Víctor Ibarbo
เกาหลีใต้ An Yong-woo
เกาหลีใต้ Jung Seung-hyun
วี-วาเรน นะงะซะกิ เนเธอร์แลนด์ Jordy Buijs เกาหลีใต้ Choi Kyu-baek สเปน Jairo Morillas สเปน Juanma ออสเตรเลีย Ben Halloran

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 คาวาซากิ ฟรอนตาเล (C, Q) 34 21 6 7 57 27 +30 69 แชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
2 ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ (Q) 34 17 6 11 47 35 +12 57 แชมเปียนส์ลีก รอบเพลย์ออฟ
3 คาชิมะแอนต์เลอส์ (Q) 34 16 8 10 50 39 +11 56
4 ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ 34 15 10 9 48 48 0 55
5 อูราวะ เรดไดมอนส์[a] (Q) 34 14 9 11 51 39 +12 51 แชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
6 เอฟซี โตเกียว 34 14 8 12 39 34 +5 50
7 เซเรซโซ โอซากะ 34 13 11 10 39 38 +1 50
8 ชิมิซุ เอส-พัลส์ 34 14 7 13 56 48 +8 49
9 กัมบะ โอซากะ 34 14 6 14 41 46 −5 48
10 วิสเซล โคเบะ 34 12 9 13 45 52 −7 45
11 เวกัลตะ เซ็นได 34 13 6 15 44 54 −10 45
12 โยโกฮามะ เอฟ มารินอส 34 12 5 17 56 56 0 41
13 โชนัน เบลมาเร 34 10 11 13 31 43 −12 41
14 ซางัน โทซุ 34 10 11 13 29 34 −5 41
15 นาโงยะ แกรมปัส 34 12 5 17 52 59 −7 41
16 จูบิโล อิวาตะ (O) 34 10 11 13 35 48 −13 41 เพลย์ออฟกับอันดับที่ 3 ของเจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2018
17 คาชิวะ เรย์โซล (R) 34 12 3 19 47 54 −7 39 ตกชั้นสู่เจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 2019
18 วี-วาเรน นางาซากิ (R) 34 8 6 20 39 59 −20 30
แหล่งที่มา : เมจิ ยาซูดะ เจ1 ลีก
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้
(C) ชนะเลิศ; (O) ชนะเพลย์-ออฟ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. อูราวะ เรดไดมอนส์ได้สิทธิ์เข้าแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 รอบแบ่งกลุ่มในฐานะทีมชนะเลิศฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ


ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน ANT BEL CER CON FMA FRO GAM GRA JUB RED REY SSP SAG SFR TOK VVN VEG VIS
คะชิมะแอนต์เลอส์ 2–1 1–0 0–0 1–0 0–0 1–0 2–0 1–1 1–0 6–2 1–0 0–0 0–1 1–2 2–1 1–2 1–1
โชนัน เบลมาเร 2–1 1–1 2–2 0–1 0–0 1–0 0–0 1–0 2–1 1–2 0–0 1–1 0–2 0–0 2–1 1–3 0–2
เซเรซโซ โอซะกะ 0–2 2–1 3–3 1–1 2–1 0–1 0–1 1–1 1–1 0–3 3–1 2–1 0–1 1–0 3–1 2–1 1–1
คอนซาโดเล ซัปโปะโระ 0–2 1–0 1–1 2–1 1–2 2–0 3–0 0–0 1–2 1–2 1–3 2–1 2–2 3–2 2–1 1–0 3–1
โยโกฮามะ เอฟ มารินอส 3–0 4–4 1–2 2–1 1–1 1–1 1–2 1–3 1–2 3–1 1–2 1–2 1–4 0–1 5–2 5–2 1–2
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 4–1 1–1 1–2 7–0 2–0 2–0 3–1 2–1 0–2 3–0 3–0 0–0 0–1 0–2 1–0 1–0 5–3
กัมบะโอซากะ 1–1 1–0 1–0 1–1 2–1 2–0 2–3 2–0 0–0 2–2 1–2 3–0 1–0 2–1 2–1 1–0 0–1
นาโงยะแกรมปัส 4–2 2–2 0–0 1–2 1–1 0–1 3–2 1–0 4–1 2–3 1–3 3–0 0–0 1–2 3–4 2–3 1–2
จูบิโล อิวะตะ 3–3 1–0 1–1 0–2 1–2 0–3 1–1 1–6 2–1 2–0 0–0 1–0 3–2 2–0 1–2 3–2 0–2
อูราวะ เรดไดมอนส์ 3–1 0–1 1–2 0–0 0–1 2–0 1–3 3–1 4–0 3–2 2–1 0–0 1–2 3–2 0–0 1–0 4–0
คะชิวะ เรย์โซล 2–3 0–2 1–1 1–2 2–0 1–2 4–2 0–1 1–2 1–0 2–3 1–1 0–1 0–1 5–1 0–2 2–1
ชิมิซุ เอส-พัลส์ 0–0 4–2 3–0 1–2 0–1 1–2 1–2 2–0 5–1 3–3 2–1 1–0 2–0 0–1 0–1 1–1 3–3
ซะงัน โทะสุ 0–1 0–1 1–0 1–2 2–1 0–2 3–0 3–2 0–0 1–0 1–2 3–1 1–0 0–0 1–0 0–1 1–1
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 3–1 2–2 0–2 1–0 3–1 1–2 4–0 1–2 0–0 1–4 0–3 2–0 1–0 1–1 2–0 0–1 2–0
เอฟซี โตเกียว 2–1 1–0 0–1 0–0 5–2 0–2 3–2 3–2 0–0 1–1 0–1 0–2 0–0 3–1 0–1 0–1 1–0
วี-วาเรน นางาซากิ 1–2 1–3 0–2 2–3 1–2 1–2 3–0 3–0 0–0 1–1 1–0 1–2 2–2 0–2 2–5 1–0 0–1
เวกัลตะ เซ็นได 0–3 4–1 2–2 2–2 2–8 0–0 2–1 1–2 0–3 1–1 1–0 2–1 2–3 1–3 1–0 1–0 1–1
วิสเซล โคเบะ 0–5 0–3 2–0 4–0 0–2 1–2 1–2 3–0 2–1 2–3 1–0 2–4 0–0 1–1 0–0 1–1 3–2
แหล่งข้อมูล: J.League Data
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ

รอบเพลย์ออฟ โซนตกชั้น[แก้]

สถิติตลอดฤดูกาล[แก้]

อันดับดาวซัลโว[แก้]

ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2561.[16]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 โฌ นาโงยะ แกรมปัส
24
2 ปาตริค ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ
20
3 เกาหลีใต้ ฮวัง อุย-โจ กัมบะ โอซะกะ
16
4 ญี่ปุ่น ยุ โคบะยะชิ คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
15
ญี่ปุ่น ชินโซธ โกโระกิ อูราวะ เรดไดมอนส์
15
6 ดิเอกู อูลีเวยรา เอฟซี โตเกียว
13
โปรตุเกส ฮูโก วีเอยรา โยโกะฮะมะ เอฟมารีนอส
13
ญี่ปุ่น โคยะ คิตะกะวะ ชิมิซุ เอส-พัลส์
13
9 เคน โทะคุระ คอนซาโดเล ซัปโปโระ
12
10 ญี่ปุ่น ทะคุมะ นิชิมุระ เวกัลตะ เซ็นได
11
ญี่ปุ่น ยุมะ ซุซุกิ คะชิมะ แอนต์เลอส์
11
ญี่ปุ่น เคนโกะ คะวะมะตะ จูบิโล อิวะตะ
11
บราซิล ดักลาส ชิมิซุ เอส-พัลส์
11
ญี่ปุ่น มุสะชิ ซุซุกิ วี-วาเรน นางาซากิ
11

การผ่านบอล[แก้]

อันดับ ผู้เล่น สโมสร การผ่านบอล
1 ญี่ปุ่น โยสึเกะ คาชิวะกิ อูราวะ
12
2 ญี่ปุ่น จุนยะ อิโตะ คาชิวะ เรย์โซล
11
3 ญี่ปุ่น โคเซะอิ ชิบะซะกิ ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ
9
ญี่ปุ่น ยูมะ ซูซุกิ คาชิมะ แอนต์เลอส์
9
4 บราซิล กาบรีเอล ชาเบียร์ นาโงยะ แกรมปัส
8
ญี่ปุ่น ฮิเดกิ อิชิเกะ ชิมิซุ เอส-พัลส์
8
ญี่ปุ่น โคยะ คิตะกะวะ ชิมิซุ เอส-พัลส์
8
ญี่ปุ่น ยูกิ มุโตะ อูราวะ
8

แฮต-ทริคส์[แก้]

นักเตะ สโมสร ทำได้ในนัดที่พบกับ ผล วันที่
บราซิล ดิเอกู อูลีเวยรา เอฟซี โตเกียว วี-วาเรน นางาซากิ 2–5 (A) 8 เมษายน 2018
โปรตุเกส ฮูโก วีเอยรา โยโกะฮะมะ เอฟมารีนอส โชนัน เบลล์มาเร 4–4 (H) 21 เมษายน 2018
ญี่ปุ่น โช อิโตะ โยโกะฮะมะ เอฟมารีนอส เวกัลตะ เซ็นได 2–8 (A) 18 กรกฎาคม 2018
บราซิล โฌ นาโงยะ แกรมปัส กัมบะ โอซะกะ 4–1 (H) 5 สิงหาคม 2018
บราซิล ฟาบริซิอู อูราวะ เรดไดมอนส์ จูบิโล อิวะตะ 4–0 (H) 15 สิงหาคม 2018
บราซิล โฌ นาโงยะ แกรมปัส อูราวะ เรดไดมอนส์ 4–1 (H) 26 สิงหาคม 2018
ญี่ปุ่น มุสะชิ ซุซุกิ วี-วาเรน นางาซากิ นาโงยะ แกรมปัส 4–3 (A) 15 กันยายน 2018
หมายเหตุ

(H) – เหย้า ; (A) – เยือน

อ้างอิง[แก้]

  1. 鹿島アントラーズFC, 株式会社. "鹿島アントラーズ オフィシャルサイト". www.so-net.ne.jp. สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  2. "2018シーズンチームスタッフ決定のお知らせ". セレッソ大阪オフィシャルウェブサイト | Cerezo OSAKA (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 15 January 2018.
  3. 株式会社コンサドーレ. "ミハイロペトロヴィッチ氏 監督就任のお知らせ | コンサドーレ札幌 オフィシャルサイト". 北海道コンサドーレ札幌オフィシャルサイト (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-10. สืบค้นเมื่อ 10 January 2018.
  4. "来シーズンの監督に関するお知らせ | 横浜F・マリノス 公式サイト". 横浜F・マリノス 公式サイト. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-19. สืบค้นเมื่อ 24 December 2017.
  5. "2018年新体制発表会見[コメント全文]| KAWASAKI FRONTALE OFFICIAL WEBSITE". www.frontale.co.jp. สืบค้นเมื่อ 25 January 2018.
  6. "2018シーズン ガンバ大阪レヴィー・クルピ監督就任のお知らせ". ガンバ大阪オフィシャルサイト (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  7. "2018年シーズン 新体制(スタッフ)". www.jubilo-iwata.co.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 15 January 2018.
  8. "風間 八宏監督、契約更新のお知らせ|ニュース|名古屋グランパス公式サイト". 名古屋グランパス公式サイト (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  9. "ヤン ヨンソン 監督就任のお知らせ|清水エスパルス – 公式WEBサイト". 清水エスパルス 公式WEBサイト (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 20 December 2017.
  10. "城福 浩 監督 就任のお知らせ". www.sanfrecce.co.jp (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-05. สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  11. "曺貴裁監督 2018シーズン続投のお知らせ «  湘南ベルマーレ公式サイト". www.bellmare.co.jp. สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  12. "長谷川健太氏 来季監督就任のお知らせ | F.C.TOKYO". F.C.TOKYO (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  13. "渡邉晋監督 来シーズン続投のお知らせ | ベガルタ仙台オフィシャルサイト". www.vegalta.co.jp (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 10 December 2017.
  14. "2018シーズン トップチーム監督およびコーチングスタッフ新体制決定のお知らせ". ヴィッセル神戸オフィシャルサイト (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 10 January 2018.
  15. "高木 琢也監督 契約更新のお知らせ | V・ファーレン長崎". www.v-varen.com (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 6 January 2018.
  16. https://www.jleague.jp/en/stats/goal.html?s=J1