ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่5 กุมภาพันธ์ – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
ทีมการแข่งขัน: 32
ทั้งหมด: 51 (จาก 22 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน126
จำนวนประตู354 (2.81 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,676,153 (13,303 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส (10 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส
รางวัลแฟร์เพลย์ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
2018
2020
(หมายเหตุ: สถิติทั้งหมดไม่ได้นับรวมรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ)

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรถ้วยสูงสุดของทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย โดยการแข่งขันครั้งนี้ถือเป็นการแข่งขั้นครั้งที่ 17 ภายใต้ชื่อเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และเป็นการแข่งขันครั้งที่ 37 ของบอลถ้วยสูงสุดของเอเชีย[1]

คาชิมะ แอนต์เลอส์ คือทีมแชมป์เก่าเมื่อฤดูกาลที่ผ่านมา.

การจัดสรรทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]

46 ชาติสมาชิก เอเอฟซี (ไม่รวมสมาชิกสมทบ หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา) มีการจัดอันดับขึ้นอยู่กับทีมชาติและประสิทธิภาพในการทำงานของแต่ละสโมสรที่เหนือกว่าตลอดสี่ปีที่ผ่านมาในการแข่งขันของเอเอฟซี กับการจัดสรรในแต่ละช่องสำหรับฤดูกาล 2019 และ 2020 ของการแข่งขันโมสรเอเอฟซีที่ได้กำหนดโดยการจัดอันดับอันดับเอเอฟซี ในปี ค.ศ. 2017 (ตามบทความหลัก 2.3):[2]

สำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019, แต่ละสมาคมจะถูกจัดสรรอยู่ในแต่ละจำนวนตามค่าสัมประสิทธิ์ของพวกเขาที่ได้วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2560,[3] ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของพวกเขาในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกและเอเอฟซีคัพ, ในขณะเดียวกันกับ อันดับโลกฟีฟ่า ฟุตบอลทีมชาติ, ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 2014 และ ค.ศ. 2017.[2][4]

การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019
ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม
ไม่ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม
หมายเหตุ
  1. ^ Australia (AUS): The top division run by the Football Federation Australia, the A-League, only had nine Australia-based teams in the 2017–18 season, so Australia could only get a maximum of three total slots (Entry Manual 5.4).[2]
  2. ^ Bahrain (BHR): Bahrain did not have any teams which had an AFC Champions League license.[5]
  3. ^ Syria (SYR): Syria did not implement the AFC Champions League club licensing system.[5]

ทีม

[แก้]

ด้านล่างนี้คือ 46 ทีมที่มาจาก 20 สมาคมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

หมายเหตุ
  1. ^ Malaysia (MAS): Pahang, the 2018 Malaysia FA Cup winners, were suspended from all AFC tournaments for not being permitted to apply for AFC licenses for two years. As a result, Perak, the 2018 Malaysia Super League runners-up, will enter the qualifying play-offs.[6][7][8]
  2. ^ Singapore (SIN): Albirex Niigata Singapore, the 2018 Singapore Premier League champions, is a satellite team of Japanese club Albirex Niigata and thus ineligible to represent Singapore in AFC club competitions. As a result, Home United, the league runners-up, will enter the qualifying play-offs.

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ด้านล่างนี้คือตารางของการแข่งขัน.[9]

รอบ การแข่งขัน วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอบคัดเลือก รอบ 1 ไม่มีการจับสลาก 5 กุมภาพันธ์ 2562
รอบคัดเลือก รอบ 2 12 กุมภาพันธ์ 2562
รอบเพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 19 กุมภาพันธ์ 2562
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 22 พฤศจิกายน 2561 4–6 มีนาคม 2562
นัดที่ 2 11–13 มีนาคม 2562
นัดที่ 3 8–10 เมษายน 2562
นัดที่ 4 22–24 เมษายน 2562
นัดที่ 5 6–8 พฤษภาคม 2562
นัดที่ 6 20–22 พฤษภาคม 2562
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย 18–19 มิถุนายน 2562 (โซนตะวันออก),
5–6 สิงหาคม 2562 (โซนตะวันตก)
25–26 มิถุนายน 2562 (โซนตะวันออก),
12–13 สิงหาคม 2562 (โซนตะวันตก)
รอบก่อนรองชนะเลิศ 2 กรกฎาคม 2562 26–28 สิงหาคม 2562 16–18 กันยายน 2562
รอบรองชนะเลิศ 1–2 ตุลาคม 2562 22–23 ตุลาคม 2562
รอบชิงชนะเลิศ 9 พฤศจิกายน 2562 24 พฤศจิกายน 2562

รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ

[แก้]

ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ แต่ละคู่จะลงเล่นแบบนัดเดียว ในกรณีจำเป็น (มีการเสมอกัน) จะต่อเวลาพิเศษและดวลลูกโทษเพื่อตัดสินหาทีมผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น (อ้างอิงบทความที่ 9.2). ผู้ชนะของแต่ละคู่ในรอบเพลย์ออฟจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ผู้แพ้ทั้งหมดในแต่ละรอบที่มาจากสมาคมกับช่องทางการเพลย์ออฟเท่านั้นจะได้ผ่านเข้าสู่เอเอฟซีคัพ 2019 รอบแบ่งกลุ่ม[1]

สายการแข่งขันของรอบคัดเลือกเพลย์ออฟสำหรับแต่ละโซนเป็นการกำหนดขึ้นโดยเอเอฟซีซึ่งขึ้นอยู่กับอันดับสมาคมของแต่ละทีม โดยทีมที่มาจากสมาคมที่มีอันดับสูงกว่าจะได้เป็นเจ้าภาพสำหรับนัดนั้น, โดยได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการโดยเอเอฟซีก่อนที่จะถึงรอบแบ่งกลุ่มในวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018[10] แต่ละทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจัดวางอยู่ในรอบเพลย์ออฟคู่เดียวกันได้.

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัล-เวห์ดัต จอร์แดน 2–3 คูเวต อัล-คูเวต


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
เซเรส–เนกรอส ฟิลิปปินส์ 1–2 ประเทศพม่า ย่างกุ้ง ยูไนเต็ด
โฮม ยูไนเต็ด สิงคโปร์ 1–3 อินโดนีเซีย เปอร์ซิจา จาการ์ตา


รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
ปัคห์ตากอร์ อุซเบกิสถาน 2–1 อิรัก อัล-ควูวา อัล-จาวียา
เอจีเอ็มเค อุซเบกิสถาน 4–2 ทาจิกิสถาน อิสติคลอล
ไซปา อิหร่าน 4–0 อินเดีย มิเนอร์วา ปันจาบ
ซอบ อาฮาน อิหร่าน 1–0
(ต่อเวลา)
คูเวต อัล-คูเวต


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
เปรัก มาเลเซีย 1–1
(ต่อเวลา)
(6–5 )
ฮ่องกง คิตฉี
แบงค็อก ยูไนเต็ด ไทย 0–1 เวียดนาม ฮานอย
เชียงราย ยูไนเต็ด ไทย 3–1 ประเทศพม่า ย่างกุ้ง ยูไนเต็ด
นิวคาสเซิล เจ็ตส์ ออสเตรเลีย 3–1
(ต่อเวลา)
อินโดนีเซีย เปอร์ซิจา จาการ์ตา


รอบเพลย์ออฟ

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัล-นาเซอร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–2 อุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์
อัล-นัสเซอร์ ซาอุดีอาระเบีย 4–0 อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค
อัล-รายยาน ประเทศกาตาร์ 3–1 อิหร่าน ไซปา
อัล-การาฟา ประเทศกาตาร์ 2–3 อิหร่าน ซอบ อาฮาน


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
อุลซัน ฮุนได เกาหลีใต้ 5–1 มาเลเซีย เปรัก
ซานตง ลู่เนิ่ง จีน 4–1 เวียดนาม ฮานอย
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ ญี่ปุ่น 0–0
(ต่อเวลา)
(4–3 )
ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 4–1 ออสเตรเลีย นิวคาสเซิล เจ็ตส์


รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบแบ่งกลุ่มจะจัดขึ้นในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561, 16:30 MYT (UTC+8),ที่ เอเอฟซี เฮาส์ ใน กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.[10] 32 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในแปดกลุ่มจากสี่ทีม: แต่ละสี่กลุ่มในโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–ดี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม อี–เอช). ทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจับสลากอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้.

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ZOB NAS ZAW WAS
1 อิหร่าน ซอบ อาฮาน (A) 5 3 2 0 10 5 +5 11 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 29 พ.ค. 0–0 2–0
2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ (A) 5 3 0 2 11 7 +4 9 2–3 4–1 3–1
3 อิรัก อัล-ซอว์ราอา (E) 6 2 2 2 14 9 +5 8 2–2 1–2 5–0
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาซล์ (E) 6 1 0 5 4 18 −14 3 1–3 1–0 1–5
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ WAH ITH LOK RAY
1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 6 4 1 1 14 9 +5 13 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 4–1 3–1 4–3
2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 6 3 2 1 13 9 +4 11 1–1 3–2 5–1
3 อุซเบกิสถาน โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ 6 2 1 3 10 11 −1 7 2–0 1–1 3–2
4 ประเทศกาตาร์ อัล-รายยาน 6 1 0 5 9 17 −8 3 1–2 0–2 2–1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ HIL DUH EST AIN
1 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 6 4 1 1 10 5 +5 13 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–1 1–0 2–0
2 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 6 2 3 1 11 8 +3 9 2–2 3–0 2–2
3 อิหร่าน เอสเตกลาล 6 2 2 2 6 8 −2 8 2–1 1–1 1–1
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 6 0 2 4 4 10 −6 2 0–1 0–2 1–2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ SAD AHL PAK PER
1 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 6 3 1 2 7 8 −1 10 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 2–1 1–0
2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 6 3 0 3 7 7 0 9 2–0 2–1 2–1
3 อุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์ 6 2 2 2 7 7 0 8 2–2 1–0 1–0
4 อิหร่าน เพร์สโพลีส 6 2 1 3 6 5 +1 7 2–0 2–0 1–1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ SDL KAS GYE JDT
1 จีน ซานตง ลู่เนิ่ง 6 3 2 1 10 8 +2 11 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–2 2–1 2–1
2 ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 6 3 1 2 9 8 +1 10 2–1 0–1 2–1
3 เกาหลีใต้ คย็องนัม เอฟซี 6 2 2 2 9 8 +1 8 2–2 2–3 2–0
4 มาเลเซีย ยะโฮร์ ดารุล ตาซิม 6 1 1 4 4 8 −4 4 0–1 1–0 1–1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ SAN GZE DAE MEL
1 ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 6 5 0 1 9 4 +5 15 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 2–0 2–1
2 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 6 3 1 2 9 5 +4 10 2–0 1–0 4–0
3 เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี 6 3 0 3 10 6 +4 9 0–1 3–1 4–0
4 ออสเตรเลีย เมลเบิร์น วิกตอรี 6 0 1 5 4 17 −13 1 1–3 1–1 1–3
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ JEO URA BJG BUR
1 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 6 4 1 1 7 3 +4 13 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 3–1 0–0
2 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 6 3 1 2 9 4 +5 10 0–1 3–0 3–0
3 จีน เป่ย์จิง เอฟซี 6 2 1 3 6 8 −2 7 0–1 0–0 2–0
4 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 1 1 4 3 10 −7 4 1–0 1–2 1–3
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ULS SSI KAW SYD
1 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 6 3 2 1 5 7 −2 11 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 1–0 1–0
2 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 6 2 3 1 13 8 +5 9 5–0 1–0 2–2
3 ญี่ปุ่น คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 6 2 2 2 9 6 +3 8 2–2 2–2 1–0
4 ออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 6 0 3 3 5 11 −6 3 0–0 3–3 0–4
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

สายการแข่งขัน

[แก้]

สายการแข่งขันได้ตัดสินหลังเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ, ซึ่งได้จัดขึ้นหลังจบรอบ 16 ทีมสุดท้ายเสร็จสิ้น.

  รอบ 16 ทีมสุดท้าย รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                                             
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 1 3 4  
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 1 2 3  
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 2 1 3  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 3 4  
 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 1 1 2
 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 3 4  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 4 5  
โซนตะวันตก
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 4 2 6  
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 2 4 6  
 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 1 3 4  
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 0 1 1
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 0 3 3  
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 2 1 3
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 4 0 4  
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 1 2 3
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 0 0 0
 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
(ลูกโทษ)
1 1 (5)  
 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 1 1 (3)  
   จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 2 1 3
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ () 2 1 3  
 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 1 3 4
 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 2 0 2  
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 2 1 3
โซนตะวันออก
   จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 0 0 0  
 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
(ลูกโทษ)
2 2 (6)  
 จีน ชานตงหลู่เหนิง 1 3 (5)  
   จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ () 0 1 1
   ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 0 1 1  
 ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ () 1 2 3
 ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 0 3 3  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, ทีมที่ชนะเลิศของหนึ่งกลุ่มจะลงเล่นพบกับทีมรองชนะเลิศของอีกกลุ่มที่มาจากโซนเดียวกัน, กับแชมป์กลุ่มที่จะได้เป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, และแมตช์การแข่งขันขึ้นอยู่กับผลการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันตก
อัล-นัสเซอร์ ซาอุดีอาระเบีย 4–3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 1–1 3–2
อัล-อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 6–4 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 2–1 4–3
อัล-ดูฮาอิล ประเทศกาตาร์ 2–4 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1–1 1–3
อัล-อาห์ลี ซาอุดีอาระเบีย 3–4 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 2–4 1–0


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันออก
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 3–3 () ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 1–0 2–3
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ จีน 4–4 (6–5 ) จีน ชานตงหลู่เหนิง 2–1 2–3
(ต่อเวลา)
อูราวะ เรดไดมอนส์ ญี่ปุ่น 4–2 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 1–2 3–0
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี จีน 2–2 (5–3 ) เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 1–1 1–1
(ต่อเวลา)


รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019).[11] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, ทีมที่ชนะเลิศของหนึ่งกลุ่มจะลงเล่นพบกับทีมรองชนะเลิศของอีกกลุ่มที่มาจากโซนเดียวกัน, กับแชมป์กลุ่มที่จะได้เป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, และแมตช์การแข่งขันขึ้นอยู่กับผลการจับสลาก, นอกเหนือจากทีมวางหรือระบบการป้องกันประเทศ.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันตก
อัล-นัสเซอร์ ซาอุดีอาระเบีย 3–4 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 2–1 1–3
อัล-อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 1–3 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 0–0 1–3


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันออก
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี จีน 3–3 () ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 2–2 1–1
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ จีน 1–1 () ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 0–0 1–1


รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
อัล-ซาดด์ ประเทศกาตาร์ 5–6 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 1–4 4–2


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันออก
อูราวะ เรดไดมอนส์ ญี่ปุ่น 3–0 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 2–0 1–0


รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

ในรอบชิงชนะเลิศ, ทีมผู้ชนะรอบรองชนะเลิศทั้งสองคู่จะลงเล่นพบกันเอง, ตามคำสั่งของเลก (เลกแรกเป็นเจ้าภาพโดยทีมที่มาจากโซนตะวันตก, เลกที่สองเป็นเจ้าภาพโดยทีมที่มาจากโซนตะวันออก) ย้อนกลับมาจากรอบชิงชนะเลิศของฤดูกาลที่ผ่านมา.

รวมผลสองนัด อัล-ฮิลาล ชนะ 3–0.

รางวัล

[แก้]
รางวัล ผู้เล่น ทีม
ผู้เล่นทรงคุณค่า[12] ฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
ดาวซัลโวสูงสุด[12] ฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
รางวัลทีมแฟร์เพลย์[12] ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
   ทีมนั้นตกรอบ / ไม่ได้อยู่ในรอบนี้.
  ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในทีม ณ เวลานั้นแต่ทีมยังมีสถานะอยู่สำหรับรอบนี้.

หมายเหตุ: ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 MD6 2R1 2R2 QF1 QF2 SF1 SF2 F1 F2 รวม
1 ฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 1 1 2 3 2 1 1 11
2 บราซิล เลอูนาร์ดู สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 2 1 4 1 1 9
3 ญี่ปุ่น ชินโซะ โกโระกิ ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 1 1 1 2 1 1 1 8
4 ซีเรีย โอมาร์ อัล โซมาห์ ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 2 2 1 1 1 7
5 อิรัก อาลาอา อับบัส อิรัก อัล-ซอว์ราอา 2 1 1 2 6
บราซิล จิอูเลียโน ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 1 1 1 2 1
บราซิล ฮุลกี จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 1 2 1 2
อิตาลี กราเซียโน เปลเล จีน ชานตง หลู่เหนิง 2 2 1 1
9 อุซเบกิสถาน เตมูร์คูจา อับดุกโฮลิคอฟ อุซเบกิสถาน โลโคโมทีพ ทาชเคนต์ 1 1 1 2 5
ประเทศกาตาร์ อัคร็อม อะฟิฟ ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 1 1 1 1
บราซิล โรมารินญู ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 1 1 1 2
บราซิล ทาลิสกา จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 1 1 2

หมายเหตุ: ประตูที่ทำได้ในการคัดเลือกเพลย์ออฟไม่นับรวมก็ต่อเมื่อมีการกำหนดอันดับดาวซัลโว (ดูที่กฏระเบียบ, บทความที่ 64.4).[1]

แหล่งที่มา: AFC[13]

รางวัลผู้เล่นประจำสัปดาห์

[แก้]
นัดที่ ผู้เล่นประจำสัปดาห์โตโยต้า
ผู้เล่น ทีม
รอบแบ่งกลุ่ม
นัดที่ 1[14] บราซิล เซซินญา เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี
นัดที่ 2[15] อิรัก อาลาอา อับบาส อิรัก อัล-ซอว์ราอา
นัดที่ 3[16] บราซิล ทาลิสกา จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
นัดที่ 4[17] บราซิล เลอูนาร์ดู สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา
นัดที่ 5[18] บราซิล ฮุลกี จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
นัดที่ 6[19] ญี่ปุ่น ยะสึโตะ วะกิซะกะ ญี่ปุ่น คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
รอบแพ้คัดออก
รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก – โซนตะวันออก[20] ญี่ปุ่น เค็นยู ซูกิโมโตะ ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 – โซนตะวันออก[21] ญี่ปุ่น โชมะ โดอิ ญี่ปุ่น คะชิมะแอนต์เลอส์
รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก – โซนตะวันตก[22] ฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 – โซนตะวันตก[23] บราซิล โรมารินญู ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด
รอบก่อนรองชนะเลิศ นัดแรก[24] บราซิล จิอูเลียโน ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์
รอบก่อนรองชนะเลิศ นัดที่ 2[25] ซาอุดีอาระเบีย ซะเล็ม อัล-ดอว์ซารี ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
รอบรองชนะเลิศ นัดแรก[26] ฝรั่งเศส บาเฟติมบี โกมิส ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
รอบรองชนะเลิศ นัดที่ 2[27] ญี่ปุ่น ชูซากุ นิชิกะวะ ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
รอบชิงชนะเลิศ นัดแรก[28] ซาอุดีอาระเบีย โมฮัมเหม็ด อัล-เบรอิค ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
รอบชิงชนะเลิศ นัดที่ 2[29] ซาอุดีอาระเบีย ซาเล็ม อัล-ดอว์ซารี ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "2019 AFC Champions League Competition Regulations". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-03. สืบค้นเมื่อ 2019-02-12.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Entry Manual: AFC Club Competitions 2017–2020". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-08-26. สืบค้นเมื่อ 2019-02-12.
  3. 3.0 3.1 3.2 "AFC Club Competitions Ranking (as of 15 December 2017)" (PDF). AFC.
  4. "AFC Club Competitions Ranking Mechanics (2017 version)". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-12. สืบค้นเมื่อ 2019-02-12.
  5. 5.0 5.1 "List of Licensed Clubs for the 2019 AFC Champions League" (PDF). AFC.
  6. "Pahang can forget playing AFC Cup competitions for 2 years". nst.com.my. 21 December 2017.
  7. "Two years can't apply for AFC Club License". hmetro.com.my. 21 December 2017.
  8. "Pahang FA was suspended for 2 years". utusan.com.my. 22 December 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-13. สืบค้นเมื่อ 2019-02-13.
  9. "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 28 November 2017.
  10. 10.0 10.1 "Continent's elite set for 2019 campaign". AFC. 22 November 2018.
  11. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ko draw
  12. 12.0 12.1 12.2 "Al Hilal's Gomis wins MVP, Top Scorer awards". Asian Football Confederation. 24 November 2019. สืบค้นเมื่อ 24 November 2019.
  13. "Top Goal Scorers (by Stage) – 2019 AFC Champions League (Group stage, Round of 16, Knock-out stage)". the-afc.com. AFC.
  14. "ACL2019 MD1 Toyota Player of the Week: Cesinha (Daegu FC)". AFC. 8 มีนาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  15. "ACL2019 MD2 Toyota Player of the Week: Alaa Abbas (Al Zawraa)". AFC. 15 มีนาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  16. "ACL2019 MD3 Toyota Player of the Week: Anderson Talisca". AFC. 12 เมษายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  17. "ACL2019 MD4 Toyota Player of the Week: Leonardo". Asian Football Confederation. 26 เมษายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  18. "ACL2019 MD5 Toyota Player of the Week: Hulk". Asian Football Confederation. 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  19. "ACL2019 MD6 Toyota Player of the Week: Yasuto Wakizaka". Asian Football Confederation. 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  20. "ACL2019 Round of 16, First Leg Toyota Player of the Week: Kenyu Sugimoto". Asian Football Confederation. 21 June 2019.
  21. "ACL2019 Round of 16, Second Leg Toyota Player of the Week: Shoma Doi". Asian Football Confederation. 28 June 2019.
  22. "ACL 2019 Round of 16 First Leg – West: Toyota Player of the Week". Asian Football Confederation. 9 August 2019.
  23. "ACL 2019 Round of 16 Second Leg – West: Toyota Player of the Week". Asian Football Confederation. 16 August 2019.
  24. "ACL 2019 QF First Leg Toyota Player of the Week: Giuliano". Asian Football Confederation. 30 August 2019.
  25. "ACL 2019 QF Second Leg Toyota Player of the Week: Salem Al Dawsari". Asian Football Confederation. 20 September 2019.
  26. "ACL 2019 SF First Leg Toyota Player of the Week: Bafetimbi Gomis". Asian Football Confederation. 4 October 2019.
  27. "ACL 2019 SF Second Leg Toyota Player of the Week: Shusaku Nishikawa". Asian Football Confederation. 25 October 2019.
  28. "2019 Final, 1st Leg – Toyota Player of the Week: Mohammed Al Burayk". Asian Football Confederation. 11 November 2019.
  29. "2019 Final, 2nd Leg – Toyota Player of the Week: Salem Al Dawsari". Asian Football Confederation. 26 November 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]