เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 รอบแพ้คัดออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 รอบแพ้คัดออก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม ถึง 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561.[1] 16 ทีมทั้งหมดเข้าร่วมการแข่งขันในรอบแพ้คัดออกที่จะตัดสินหาทีมชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018.[2]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

แชมป์และรองแชมป์ของแต่ละกลุ่มจากแปดกลุ่มใน รอบแบ่งกลุ่ม เข้ารอบสำหรับรอบแพ้คัดออก. ทั้งโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–ดี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม อี–เอช) จะมีแปดทีมที่ผ่านเข้ารอบ.

โซน กลุ่ม แชมป์กลุ่ม รองแชมป์กลุ่ม
โซนตะวันตก เอ ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา
บี ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล อิหร่าน ซอบ อาฮาน
ซี อิหร่าน เพร์สโพลีส ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์
ดี อิหร่าน เอสเตกลาล สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน
โซนตะวันออก อี ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด เกาหลีใต้ ชุนบุก ฮุนได มอเตอร์ส
เอฟ ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได
จี ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
เอช เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส

รูปแบบการแข่งขัน[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในระบบแพ้คัดออก, กับทีมที่ถูกแบ่งระหว่างสองโซนจนกระทั่งมาถึงรอบชิงชนะเลิศ. โดยแต่ละสายจะลงเล่นในรูปแบบสองนัดเหย้าและเยือน. กฎยิงประตูทีมเยือน, การต่อเวลาพิเศษ (ประตูทีมเยือนไม่สามารถนำมาใช้ในการต่อเวลาพิเศษ) และ การดวลลูกโทษ เป็นการใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศในกรณีที่จำเป็น (บทความที่ 11.3).[2].[2]

ตารางการแข่งขัน[แก้]

ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบจะมีดังนี้.[1]

รอบ เลกแรก เลกสอง
รอบ 16 ทีมสุดท้าย 7–9 พฤษภาคม 2561 14–16 พฤษภาคม 2561
รอบก่อนรองชนะเลิศ (รอบ 8 ทีมสุดท้าย) 27–29 สิงหาคม 2561 17–19 กันยายน 2561
รอบรองชนะเลิศ 1–3 ตุลาคม 2561 22–24 ตุลาคม 2561
รอบชิงชนะเลิศ 3 พฤศจิกายน 2561 10 พฤศจิกายน 2561

สายการแข่งขัน[แก้]

สายการแข่งขันของรอบแพ้คัดออกเป็นไปตามกำหนดดังนี้:

รอบ การจับประกบคู่
รอบ 16 ทีมสุดท้าย (แชมป์กลุ่มจะได้เป็นเจ้าบ้านเลกที่สอง)
รอบก่อนรองชนะเลิศ (การจับประกบคู่และคำสั่งของแต่ละเลกขึ้นอยู่กับการจับสลาก, เชื่อมโยงสี่ผู้ชนะรอบ 16 ทีมสุดท้ายแต่ละคู่ในโซนตะวันตกและโซนตะวันออก)
รอบรองชนะเลิศ (ผู้ชนะ QF1 และ QF3 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกแรก, ผู้ชนะ QF2 และ QF4 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง)
รอบชิงชนะเลิศ (ผู้ชนะ SF2 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกแรก, ผู้ชนะ SF1 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, เป็นการกลับตรงกันข้ามจากนัดชิงชนะเลิศฤดูกาลที่ผ่านมา)
  • ผู้ชนะ SF1 vs. ผู้ชนะ SF2

สายการแข่งขันได้ตัดสินหลังเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ, ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561, 16:00 MYT (UTC+8), ที่เอเอฟซี เฮาส์ ในกรุง กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.[3][4][5]

  รอบ 16 ทีมสุดท้าย รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                                             
 ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 3 1 4  
 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 1 2 3  
   ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 2 3 5  
   จีน เทียนจิน ฉวนเจียน 0 0 0  
 จีน เทียนจิน ฉวนเจียน () 0 2 2
 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 0 2 2  
   ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 3 3 6  
   เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 2 3 5  
 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3 0 3  
 เกาหลีใต้ ชุนบุก ฮุนได มอเตอร์ส 2 2 4  
   เกาหลีใต้ ชุนบุก ฮุนได มอเตอร์ส 0 3 (2)
   เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ (ลูกโทษ) 3 0 (4)  
 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 1 0 1
 เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 0 3 3  
   ญี่ปุ่น คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 2 0 2
   อิหร่าน เปอร์เซโปลิส 0 0 0
 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 1 1 2  
 อิหร่าน เอสเตกลาล 0 3 3  
   อิหร่าน เอสเตกลาล 1 2 3
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 3 2 5  
 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 2 2 4
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 1 2 3  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 0 1 1
   อิหร่าน เพร์สโพลีส 1 1 2  
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 2 1 3  
 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 4 4 8  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 1 1 2
   อิหร่าน เพร์สโพลีส 0 3 3  
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 3 1 4
 อิหร่าน เพร์สโพลีส () 2 2 4  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, ทีมที่ชนะเลิศของหนึ่งกลุ่มจะลงเล่นพบกับทีมรองชนะเลิศของอีกกลุ่มที่มาจากโซนเดียวกัน, กับแชมป์กลุ่มที่จะได้เป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, และแมตช์การแข่งขันขึ้นอยู่กับผลการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
อัล-จาซีรา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4–4 () อิหร่าน เพร์สโพลีส 3–2 1–2
อัล-ซาดด์ ประเทศกาตาร์ 4–3 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 2–1 2–2
ซอบ อาฮาน อิหร่าน 2–3 อิหร่าน เอสเตกลาล 1–0 1–3
อัล-อิน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3–8 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 2–4 1–4
โซนตะวันออก
เทียนจิน ฉวนเจียน จีน 2–2 () จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 0–0 2–2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทย 3–4 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 3–2 0–2
อุลซัน ฮุนได เกาหลีใต้ 1–3 เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 1–0 0–3
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 4–3 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 3–1 1–1

โซนตะวันตก[แก้]

รวมผลสองนัด เสมอ 4–4. เพร์สโพลีส เข้ารอบด้วยกฏประตูทีมเยือน.


รวมผลสองนัด อัล-ซาดด์ ชนะ 4–3.


รวมผลสองนัด เอสเตกลาล ชนะ 3–2.


รวมผลสองนัด อัล-ดูฮาอิล ชนะ 8–3.

โซนตะวันออก[แก้]

รวมผลสองนัด เสมอ 2–2. เทียนจิน ฉวนเจียน เข้ารอบด้วยกฏประตูทีมเยือน.


รวมผลสองนัด ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ ชนะ 4–3.


รวมผลสองนัด ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ ชนะ 3–1.


รวมผลสองนัด คาชิมะ แอนต์เลอส์ ชนะ 4–3.

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561.[5] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, สี่ทีมที่มาจากโซนตะวันตกจะลงเล่นในสองคู่, และสี่ทีมที่มาจากโซนตะวันออกจะลงเล่นในสองคู่, กับการขยับโปรแกรมการแข่งขันและคำสั่งของเลกขึ้นอยู่กับการจับสลาก, นอกเหนือจากการเป็นทีมวางใดๆ หรือการป้องกันประเทศ.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
เอสเตกลาล อิหร่าน 3–5 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1–3 2–2
อัล-ดูฮาอิล ประเทศกาตาร์ 2–3 อิหร่าน เพร์สโพลีส 1–0 1–3
โซนตะวันออก
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 5–0 จีน เทียนจิน ฉวนเจียน 2–0 3–0
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ เกาหลีใต้ 3–3 (2–4 ) เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 0–3 3–0
(ต่อเวลา)

โซนตะวันตก[แก้]

เอสเตกลาล อิหร่าน1–3ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์
บาร์ชัม Goal 12' (เข้าประตูตัวเอง) รายงานสด
รายงานสถิติ
อาฟิฟ Goal 60'
บูเนดจาห์ Goal 65'74' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 78,116 คน
ผู้ตัดสิน: ม่า หนิง (จีน)

รวมผลสองนัด อัล-ซาดด์ ชนะ 5–3.


รวมผลสองนัด เพร์สโพลีส ชนะ 3–2 .

โซนตะวันออก[แก้]

รวมผลสองนัด คาชิมะ แอนต์เลอส์ ชนะ 5–0.


รวมผลสองนัด เสมอ 3–3. ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ ชนะลูกโทษ 4–2.

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ในรอบรองชนะเลิศ, สองทีมที่มาจากโซนตะวันตกจะลงเล่นในหนึ่งคู่, และสองทีมที่มาจากโซนตะวันออกจะลงเล่นในหนึ่งคู่, กับคำสั่งของเลกขึ้นอยู่กับการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
อัล-ซาดด์ ประเทศกาตาร์ 1–2 อิหร่าน เพร์สโพลีส 0–1 1–1
โซนตะวันออก
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 6–5 เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 3–2 3–3

โซนตะวันตก[แก้]

รวมผลสองนัด เพร์สโพลีส ชนะ 2–1.

โซนตะวันออก[แก้]

รวมผลสองนัด คาชิมะ แอนต์เลอส์ ชนะ 6–5.

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

รวมผลสองนัด คาชิมะ แอนต์เลอส์ ชนะ 2–0.

หมายเหตุ[แก้]

  1. แมตช์ระหว่าง เทียนจิน ฉวนเจียน พบกับ คาชิมะ แอนต์เลอส์ ได้ลงเล่นใน สนามกีฬากัมโปเดสปอร์ติโบ, มาเก๊า แทนที่ สนามกีฬาเทียนจินโอลิมปิกเซ็นเตอร์, เทียนจิน.[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "AFC Competitions Calendar 2018". AFC. 11 January 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-27. สืบค้นเมื่อ 2018-04-18.
  2. 2.0 2.1 2.2 "2018 AFC Champions League Competition Regulations" (PDF). AFC.
  3. "Impressive quarter-finalists promise thrills". AFC. 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "AFC Champions League 2018 Knockout Stage Official Draw". YouTube. 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  5. 5.0 5.1 "Quarter-final ties confirmed". AFC. 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "亚足联官宣权健亚冠主场移师澳门 不在天津举行". Sina Sports. 3 กันยายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  7. "Geiger to lead ref crew at AFC Champions League semifinal". Major League Soccer. 19 October 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]