รายชื่อประเทศที่ได้รับเหรียญรางวัลมากที่สุดในกีฬาโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อประเทศที่ได้รับเหรียญรางวัลมากที่สุดในกีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: List of Olympic teams by medals won) หรือ เจ้าเหรียญทอง รายชื่อประเทศเหล่านี้เป็นประเทศที่ได้รับเหรียญรางวัลจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกมากที่สุด 3 อันดับแรกในโอลิมปิกแต่ละครั้ง โดยสหรัฐได้อันดับที่หนึ่งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 18 ครั้ง ตามด้วยสหภาพโซเวียตด้วยชัยชนะทั้งหมด 6 ครั้ง (ไม่รวมอันดับที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1992 ที่เข้าร่วมในนามทีมรวม (Unified Team)) ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว นอร์เวย์ได้อันดับที่หนึ่ง 8 ครั้ง และสหภาพโซเวียต (ก่อนที่จะยุบในปี ค.ศ. 1991) ได้อันดับที่หนึ่ง 7 ครั้ง

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

แบ่งตามการแข่งขัน[แก้]

การแข่งขัน อันดับ 1 เหรียญ อันดับ 2 เหรียญ อันดับ 3 เหรียญ จำนวนประเทศที่ได้รับเหรียญ
1896 เอเธนส์ กรีซ สหรัฐ 11 กรีซ 10 เยอรมนี 6 11
7 17 5
2 5 2
1900 ปารีส ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 26 สหรัฐ 19 สหราชอาณาจักร 15 21
41 14 6
34 14 9
1904 เซนต์หลุยส์ สหรัฐ สหรัฐ 78 เยอรมนี 4 คิวบา 4 12
82 4 2
79 5 3
1908 ลอนดอน สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 56 สหรัฐ 23 สวีเดน 8 19
51 12 6
39 12 11
1912 สต็อกโฮล์ม สวีเดน สหรัฐ 25 สวีเดน 24 สหราชอาณาจักร 10 18
19 24 15
19 17 16
1920 แอนต์เวิร์ป เบลเยียม สหรัฐ 41 สวีเดน 19 สหราชอาณาจักร 15 22
27 20 15
27 25 13
1924 ปารีส ฝรั่งเศส สหรัฐ 45 ฟินแลนด์ 14 ฝรั่งเศส 13 27
27 13 15
27 10 10
1928 อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์ สหรัฐ 22 เยอรมนี 10 ฟินแลนด์ 8 33
18 7 8
16 14 9
1932 ลอสแอนเจลิส สหรัฐ สหรัฐ 41 อิตาลี 12 ฝรั่งเศส 10 27
32 12 5
30 12 4
1936 เบอร์ลิน นาซีเยอรมนี เยอรมนี 33 สหรัฐ 24 ฮังการี 10 32
26 20 1
30 12 5
1948 ลอนดอน สหราชอาณาจักร สหรัฐ 38 สวีเดน 16 ฝรั่งเศส 10 37
27 11 6
19 17 13
1952 เฮลซิงกิ ฟินแลนด์ สหรัฐ 40 สหภาพโซเวียต 22 ฮังการี 16 43
19 30 10
17 19 16
1956 เมลเบิร์น ออสเตรเลีย สหภาพโซเวียต 37 สหรัฐ 32 ออสเตรเลีย 13 38
29 25 8
32 17 14
1960 โรม อิตาลี สหภาพโซเวียต 43 สหรัฐ 34 อิตาลี 13 44
29 21 10
31 16 13
1964 โตเกียว ญี่ปุ่น สหรัฐ 36 สหภาพโซเวียต 30 ญี่ปุ่น 16 41
26 31 5
28 35 29
1968 เม็กซิโกซิตี เม็กซิโก สหรัฐ 45 สหภาพโซเวียต 29 ญี่ปุ่น 11 44
28 32 7
34 30 25
1972 มิวนิก เยอรมนีตะวันตก สหภาพโซเวียต 50 สหรัฐ 33 เยอรมนีตะวันออก 20 48
27 31 23
22 30 23
1976 มอนทรีออล แคนาดา สหภาพโซเวียต 49 เยอรมนีตะวันออก 40 สหรัฐ 34 41
41 25 35
35 25 25
1980 มอสโก สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 80 เยอรมนีตะวันออก 47 บัลแกเรีย 8 36
69 37 16
46 42 17
1984 ลอสแอนเจลิส สหรัฐ สหรัฐ 83 โรมาเนีย 20 เยอรมนีตะวันตก 17 47
61 16 19
30 17 23
1988 โซล เกาหลีใต้ สหภาพโซเวียต 55 เยอรมนีตะวันออก 37 สหรัฐ 36 52
31 35 30
46 30 27
1992 บาร์เซโลนา สเปน ทีมรวม 45 สหรัฐ 37 เยอรมนี 33 64
38 34 21
29 37 28
1996 แอตแลนตา สหรัฐ สหรัฐ 44 รัสเซีย 26 เยอรมนี 20 79
32 21 18
25 16 27
2000 ซิดนีย์ ออสเตรเลีย สหรัฐ 37 รัสเซีย 32 จีน 28 80
24 28 16
33 29 14
2004 เอเธนส์ กรีซ สหรัฐ 36 จีน 32 รัสเซีย 27 74
39 17 27
27 14 38
2008 ปักกิ่ง จีน จีน 51 สหรัฐ 36 รัสเซีย 23 87
21 38 21
28 36 29
2012 ลอนดอน สหราชอาณาจักร สหรัฐ 46 จีน 38 สหราชอาณาจักร 29 86
29 27 17
29 23 19
2016 ริโอ บราซิล สหรัฐ 46 สหราชอาณาจักร 27 จีน 26 86
37 23 18
38 17 26
2020 โตเกียว ญี่ปุ่น สหรัฐ 39 จีน 38 ญี่ปุ่น 27 93
41 32 14
33 18 17
2024 ปารีส ฝรั่งเศส TBD TBD TBD TBD TBD TBD TBD
TBD TBD TBD
TBD TBD TBD
2028 ลอสแอนเจลิส สหรัฐ TBD TBD TBD TBD TBD TBD TBD
TBD TBD TBD
TBD TBD TBD
2032 บริสเบน ออสเตรเลีย TBD TBD TBD TBD TBD TBD TBD
TBD TBD TBD
TBD TBD TBD

แบ่งตามประเทศ[แก้]

ประเทศ อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3
สหรัฐ 18 8 2
สหภาพโซเวียต 6 3 0
จีน 1 3 2
เยอรมนี 1 2 3
สหราชอาณาจักร 1 1 4
ฝรั่งเศส 1 0 3
ทีมรวม 1 0 0
สวีเดน 0 3 1
เยอรมนีตะวันออก 0 3 1
รัสเซีย 0 2 2
ฟินแลนด์ 0 1 1
อิตาลี 0 1 1
กรีซ 0 1 0
โรมาเนีย 0 1 0
ญี่ปุ่น 0 0 3
ฮังการี 0 0 2
คิวบา 0 0 1
ออสเตรเลีย 0 0 1
บัลแกเรีย 0 0 1
เยอรมนีตะวันตก 0 0 1

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]