ข้ามไปเนื้อหา

ภาษานุง (ทิเบต-พม่า)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษานุง
Anong, Anung
ออกเสียง[ɑ˧˩ nuŋ˧˥]
ประเทศที่มีการพูดประเทศจีน, ประเทศพม่า
ภูมิภาคเทศมณฑลฝูก้ง
ชาติพันธุ์(Southern) Anung of Nu nationality
จำนวนผู้พูด450 คน  (2000–2007)[1]
7,000 คนในประเทศจีน
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3nun
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษานุง (Nung language) มีผู้พูดทั้งหมด 790 คน พบในพม่า 400 คน (พ.ศ. 2543) ทางภาคเหนือ พบในจีน 390 คน (พ.ศ. 2542) ในมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขานุง เป็นคนละภาษากับภาษานุงที่เป็นภาษาตระกูลขร้า-ไทในลาวและเวียดนาม และภาษาจีนกวางตุ้งสำเนียงนุงในเวียดนาม ผู้พูดภาษานี้ในจีนกำลังลดจำนวนลง ส่วนใหญ่พูดภาษาลีซอได้ บางส่วนพูดภาษาจีนกลางได้

อ้างอิง

[แก้]
  1. ภาษานุง ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.
  • Sun Hongkai; Liu Guangkun (2009). A Grammar of Anong. Language Death Under Intense Contact. Leiden • Boston: Brill. ISBN 90-04-17686-1.
  • Wu, Nye. 2013. A Sociolinguistic Study of the Vitality of Anung (Anong) In Myanmar เก็บถาวร 2020-05-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Master’s thesis, Payap University.
  • Shintani, Tadahiko. 2018. The Khwingsang language. Linguistic survey of Tay cultural area, no. 113. Tokyo: Research Institute for Languages and Cultures of Asia and Africa (ILCAA).