ผู้ใช้:Teerayut.S/ทดลองเขียน
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
Teerayut S. | |
---|---|
เกิด | Teerayut S. มิถุนายน 15, 1988[1] ไวต์เพลนส์ รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (จบแล้ว) |
อาชีพ | ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการของเฟซบุ๊ก (ถือหุ้น 24% ในปี 2010)[2] |
มีชื่อเสียงจาก | ร่วมก่อตั้งเฟซบุ๊กในปี ค.ศ. 2004; กลายเป็นมหาเศรษฐีที่อายุน้อยที่สุดในโลกเป็นของปี ค.ศ. 2008[3] |
คู่สมรส | - |
บุตร | - |
ญาติ | แรนดี, ดอนนาและแอเรียล (พี่สาว) |
รางวัล | บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ ค.ศ. 2010 |
เว็บไซต์ | facebook.com/zuck |
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาธีระยุทธ สยามมกุฎราชกุมาร (อังกฤษ: Mark Elliot Zuckerberg) เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1988 ที่ ประเทศอเมริกา เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก เขาร่วมก่อตั้งเฟซบุ๊กร่วมกับเพื่อนอีก 4 คน ขณะกำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา นิตยสารไทม์ ได้ให้เขาเป็นบุคคลแห่งปี ค.ศ. 2010
ที่โรงเรียนอาร์ดสลีย์ไฮสคูล เขาได้มีความสามารถด้านการศึกษาคลาสสิก ก่อนที่เขาจะย้ายไปเรียนระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนฟิลิปส์เอกเซกเตอร์อคาเดมี ที่นี่ซักเคอร์เบิร์กได้รับรางวัลทางวิทยาศาสตร์ (คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ และฟิสิกส์) และศึกษาด้านศิลปะคลาสสิก เขายังเรียนภาษาต่างประเทศ โดยเขาสามารถอ่าน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาฮิบรู ภาษาละติน และภาษากรีกโบราณ เขายังเป็นกัปตันทีมฟันดาบ
ในงานสังสรรค์ในช่วงชั้นปีที่ 2 ซักเคอร์เบิร์กพบกับพริสซิลลา ชาน ที่ต่อมาเป็นเพื่อนหญิงของเขา[6] ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2010 ชานซึ่งศึกษาแพทย์ ได้ย้ายมาอยู่บ้านเช่าของซักเคอร์เบิร์กในแพโลอัลโต
ซักเคอร์เบิร์กสามารถมองเห็นสีฟ้าได้ดีที่สุด เพราะเขาเป็นโรคตาบอดสีซึ่งมองสีแดงและสีเขียวได้ไม่ชัดเจน นอกจากนี้สีฟ้ายังเป็นสีหลักในเว็บไซต์เฟซบุ๊กอีกด้วย
พัฒนาซอฟต์แวร์
[แก้]ช่วงแรก
[แก้]ซักเคอร์เบิร์ก ได้ใช้คอมพิวเตอร์ในการเขียนซอฟต์แวร์ ตั้งแต่ยังเป็นเด็กในชั้นประถมปลาย พ่อเขาสอนให้ใช้โปรแกรมพื้นฐานของอาตาริในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 และต่อมายังจ้างนักพัฒนาซอฟต์แวร์ ที่ชื่อ เดวิด นิวแมน มาสอนเป็นการส่วนตัว นิวแมนเรียกเขาว่า "เด็กอัจฉริยะ" และกล่าวต่อว่า "ยากที่จะล้ำหน้าเกินเขา" ซักเกอร์เบิร์กยังเรียนคอร์สที่วิทยาลัยเมอร์ซี ใกล้กับบ้านของเขาขณะที่เรียนระดับไฮสคูลอยู่ เขามีความสนุกกับการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครื่องมือด้านการสื่อสารและเกม ตัวอย่างเช่น มีโปรแกรมหนึ่ง ซึ่งพ่อของเขาที่เป็นทันตแพทย์ เขาสร้างโปรแกรมที่ชื่อ "ซักเน็ต" ที่จะให้คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารได้ระหว่างบ้านกับสำนักงานทันตแพทย์ โดยใช้ระบบปิงหากัน ถือว่าเป็นเมสเซนเจอร์รุ่นดึกดำบรรพ์ของเอโอแอล ซึ่งออกมาภายหลัง
ในช่วงระหว่างเรียนไฮสคูล ภายใต้การทำงานกับบริษัท อินเทลลิเจนต์มีเดียกรุ๊ป เขาได้สร้างโปรแกรมเล่นดนตรีที่เรียกว่า ไซแนปส์มีเดียเพลเยอร์ (Synapse Media Player) ใช้ปัญญาประดิษฐ์เรียนรู้พฤติกรรมการฟังเพลงของผู้ใช้ โดยได้โพสต์ลงที่ สแลชด็อต ได้รับคะแนน 3 เต็ม 5 จาก พีซีแม็กกาซีน ไมโครซอฟท์และเอโอแอลพยายามจะซื้อไซแนมป์และรับซักเคอร์เบิร์กเข้าทำงาน แต่เขาเลือกที่จะสมัครเรียนที่ฮาร์วาร์ดในเดือนกันยายน ค.ศ. 2002
ฮาร์วาร์ด
[แก้]ในช่วงที่เขาเรียนอยู่ที่ฮาร์วาร์ด เขามีกิตติศัพท์ด้านความอัจฉริยะในการเขียนโปรแกรมแล้ว เขาศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และจิตวิทยา และเป็นสมาชิก อัลฟาเอปซิลอนไพ สมาคมยิวในมหาวิทยาลัย พอเรียนชั้นปีที่ 2 เขาสร้างโปรแกรมจากห้องพักของเขาที่ชื่อ "คอร์สแมตช์" ที่ให้ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเรื่องการเลือกเรียนวิชา จากการตัดสินใจของนักเรียนคนอื่น และยังช่วยให้พวกเขาร่วมก่อกลุ่มการเรียน ต่อจากนั้นไม่นาน เขาสร้างโปรแกรมที่แตกต่างกันออกไป เรียกว่า "เฟซแมช" ที่ให้ผู้ใช้เลือกหน้าผู้ใช้ที่หน้าตาดีที่สุดในบรรดารูปที่ให้มา เพื่อนร่วมห้องของเขาเวลานั้นที่ชื่อ อารี ฮาซิต กล่าวว่า "เขาสร้างเว็บไซต์นี้เพื่อความสนุก"
"เรามีหนังสือ ที่เรียกว่า เฟซบุ๊กส์ ที่รวบรวมรายชื่อและภาพของทุกคนที่อยู่ในหอพัก ในตอนแรกเขาสร้างเว็บไซต์ที่ วางรูป 2 รูป หรือรูปของผู้ชาย 2 คน และผู้หญิง 2 คน ผู้เยี่ยมเยือนเว็บไซต์จะเลือกว่า ใครร้อนแรงกว่ากัน และรวบรวมจัดอันดับเป็นผลโหวต"
เว็บไซต์เปิดในช่วงวันหยุด แต่พอถึงเช้าวันจันทร์ เว็บไซต์ก็ถูกปิดโดยมหาวิทยาลัย เว็บไซต์ได้รับความนิยมในช่วงเวลาอันสั้น จนทำให้เซิร์ฟเวอร์ของฮาร์วาร์ดล่ม นักศึกษาจะถูกห้ามใช้เข้าเว็บไซต์ นอกจากนั้นมีนักศึกษาหลายคนร้องเรียนเรื่องภาพที่ใช้ไม่ได้รับอนุญาต เขาออกขอโทษต่อสาธารณะ หนังสือพิมพ์นักเรียนจะพาดหัวเกี่ยวกับเว็บไซต์ของเขาว่า "ไม่เหมาะสม"
อย่างไรก็ตาม นักเรียนก็ได้เรียกร้องให้มหาวิทยาลัยพัฒนาเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูล รายชื่อ รวมถึงรูป ในส่วนหนึ่งของเครือข่ายมหาวิทยาลัย ฮาซิตเพื่อนร่วมห้องเขากล่าวว่า "มาร์กได้ยินคำร้องเหล่านี้และตัดสินใจว่า ถ้ามหาวิทยาลัยจะไม่ทำอะไรเลยก็ตาม เขาก็จะสร้างเว็บไซต์ที่ดีกว่าที่มหาวิทยาลัยจะทำ"
เฟซบุ๊ก
[แก้]ก่อตั้งและเป้าหมาย
[แก้]ซักเคอร์เบิร์กได้เปิดตัวเฟซบุ๊ก จากในห้องพักของเขาในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 แรงบันดาลใจแรก ๆ ของเฟซบุ๊กอาจมาจากที่โรงเรียนฟิลิปส์เอกเซกเตอร์อคาเดมี ที่เขาเรียนจบปี ค.ศ. 2002 โดยที่เผยในเว็บไซต์ของเขาคือ สารบัญรูปนักศึกษาของเขา ที่นักศึกษาหมายถึง "เดอะเฟซบุ๊ก" มีสารบัญภาพ ที่มีภาพนักศึกษาทำกิจกรรมในหลาย ๆ โรงเรียน โดยนักศึกษาสามารถเข้ามาให้ข้อมูล อย่างเช่น ชั้นปีที่ศึกษา เพื่อนใกล้ชิด หมายเลขโทรศัพท์[7]
โดยในขณะนั้น เฟซบุ๊ก เริ่มต้นเพียงแค่ "Harvard thing" จนกระทั่งซักเคอร์เบิร์กตัดสินใจที่จะกระจายไปสู่มหาวิทยาลัยอื่น ๆได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนร่วมห้อง ดัสติน มอสโควิตซ์ โดยเริ่มจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก มหาวิทยาลัยคอร์เนล มหาวิทยาลัยบราวน์ และมหาวิทยาลัยเยล จากนั้นก็เข้าสู่โรงเรียนอื่น ที่มีความสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ซักเคอร์เบิร์กได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองแพโลอัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย กับมอสโควิตซ์และเพื่อนบางส่วน พวกเขาดัดแปลงบ้านเช่าเป็นสำนักงาน ในฤดูร้อนนั้น ซักเคอร์เบิร์กได้พบกับปีเตอร์ ทีล ที่ได้ให้ทุนกับบริษัท พวกเขาเริ่มก่อตั้งบริษัทแรกในกลางปี 2004 พวกเขาได้ปฏิเสธการเสนอขายเฟซบุ๊กกับบริษัทใหญ่ ๆ โดยในบทสัมภาษณ์ในปี 2007 ซักเคอร์เบิร์กอธิบายไว้ว่า
เขาพูดในนิตยสารไวร์ ในปี 2010 ว่า "สิ่งที่ผมใส่ใจมากเกี่ยวกับภารกิจนี้ ก็คือทำให้โลกเปิดกว้างขึ้น" ก่อนหน้านั้นในเดือนเมษายน 2009 ซักเคอร์เบิร์กได้สอบถามคำแนะนำจากผู้บริหารระดับสูงด้านการเงินของเน็ตสเคป ปีเตอร์ เคอร์รี เกี่ยวกับยุทธวิธีสำหรับเฟซบุ๊ก
เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 ซักเคอร์เบิร์กรายงานว่า บริษัทมีผู้ใช้ 500 ล้านบัญชีรายชื่อ และเมื่อถามว่า เฟซบุ๊ก จะสามารถทำเงิน หรือสร้างปรากฏการณ์เพิ่มขึ้น เขาอธิบายว่า:
ผมคิดว่า เราสามารถ... ถ้าคุณดูว่าโฆษณาที่มีในแต่ละหน้ากินไปขนาดไหน เมื่อเปรียบเทียบกับการค้นหาข้อมูล ของเรามีน้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อหน้าและยอดการค้นหาปกติจะมีโฆษณาราวร้อยละ 20 ... นี่เป็นสิ่งง่ายที่ทุกคนจะทำ แต่เราไม่ใช่อย่างนั้น เราทำเงินให้พอที่เราจะดำเนินงานได้ เติบโตในอัตราที่เราต้องการ
ในปี 2010 สตีเฟน เลวี ผู้แต่งหนังสือเรื่อง Hackers: Heroes of the Computer Revolution ในปี ค.ศ. 1984 ได้เขียนเกี่ยวกับซักเคอร์เบิร์กไว้ว่า "เห็นชัดว่าเขาคิดว่าตัวเองเป็น"แฮ็กเกอร์" ซักเคอร์เบิร์กพูดว่า "มันโอเคที่จะสร้างสิ่งใหม่...ทำให้มันดียิ่งขึ้น"เฟซบุ๊กเริ่มให้มี" "งานแฮ็กคาธอน" ในทุก ๆ 6 ถึง 8 อาทิตย์ เปิดโอกาส 1 คืนให้ร่วมคิดและจบโครงการ 1 โครง โดยบริษัทให้จัดหาเพลง อาหารและเบียร์ สำหรับงานแฮกคาธอน และจะมีเจ้าหน้าที่ของเฟซบุ๊ก รวมถึงซักเคอร์เบิร์ก เข้าร่วมด้วย "แนวคิดคือคุณสามารถสร้างบางสิ่งให้ดีได้ใน 1 คืน" ซักเคอร์เบิร์กบอกเลวี "และเป็นบุคลิกของเฟซบุ๊กในปัจจุบัน...ซึ่งก็คือนิสัยส่วนตัวของผมด้วย"
ในปี นิตยสาร วานิตีแฟร์ ได้ให้ซักเคอร์เบิร์กติดอันดับ 1 ในปี 2010 ของรายชื่อ "100 อันดับ บุคคลที่มีอิทธิพลที่สุดในยุคข้อมูล" ในปี 2010 ยังติดอันดับ 16 ของการสำรวจประจำปีของ นิวสเตตส์เม็น ในหัวข้อ "บุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก 50 อันดับ"
การพูดถึงในสื่อ
[แก้]เดอะโซเชียลเน็ตเวิร์ก
[แก้]ภาพยนตร์ที่สร้างมาจากชีวิตจริงของซักเคอร์เบิร์ก ในปีเริ่มก่อตั้งเฟซบุ๊กเรื่อง The Social Network ออกฉายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2010 นำแสดงโดยเจสซี ไอเซนเบิร์ก แสดงเป็นซักเคอร์เบิร์ หลังจากที่ชีวิตเขาปรากฏบนจอภาพยนตร์ เขาตอบรับว่า "ผมหวังว่าจะไม่มีใครสร้างหนังเกี่ยวกับผมขณะที่ผมยังมีชีวิตอยู่" และเมื่อบทภาพยนตร์หลุดมาทางอินเทอร์เน็ต และนักแสดงนำไม่ใช่ตัวซักเคอร์เบิร์กในด้านบวก เขาก็ออกมาพูดว่า เขาต้องการให้เสนอตัวเขาในแบบ "คนดี"
ภาพยนตร์ The Social Network ซึ่งอิงมาจากหนังสือเรื่อง The Accidental Billionaires โดยเบน เมซริช ซึ่งมีการประชาสัมพันธ์ไว้ว่า "สนุก น่าสนใจ มาก" มากกว่าการเป็น "รายงาน" ผู้เขียนบทภาพยนตร์ แอรอน ซอร์คิน บอกกับนิตยสารนิวยอร์กว่า "ผมไม่ต้องการความถูกต้องแม่นยำ ผมต้องการเล่าเรื่อง" จากบทในหนังของซอร์คิน ที่บรรยายว่าซักเคอร์เบิร์กสร้างเฟซบุ๊กขึ้นมาเพราะต้องการยกระดับชื่อเสียงของตนเพราะไม่สามารถเข้าไฟนอลคลับของฮาร์วาร์ด อย่างไรก็ตามซักเคอร์เบิร์กเล่าให้กับ The New Yorker ว่าเขาไม่เคยมีความสนใจที่จะเข้าไฟนอลคลับ
สื่ออื่น
[แก้]ซักเคอร์เบิร์กในพากย์เสียงเป็นตัวเขาเองในตอนของ The Simpsons ชื่อตอน "Loan-a Lisa" ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 2010 เป็นตอนเกี่ยวกับลิซา ซิมป์สันและเพื่อของเธอที่ชื่อเนลสันได้พบกับซักเคอร์เบิร์กที่งานชุมนุมนักธุรกิจ ซักเคอร์เบิร์กบอกกับลิซาว่า เขาไม่ต้องการเรียนจบจากมหาวิทยาลัยเพื่อประสบความสำเร็จแบบรีบเร่ง อย่าง บิล เกตส์ และริชาร์ด แบรนสัน เป็นต้น
ในวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2010 รายการ Saturday Night Live ได้ล้อเลียนซักเคอร์เบิร์กและเฟซบุ๊ก[8] โดยแอนดี แซมเบิร์กแสดงเป็นซักเคอร์เบิร์ก ซึ่งซักเคอร์เบิร์กเขียนลงในเฟซบุ๊กของตัวเขาเองเกี่ยวกับตอนนี้ว่า "ผมเป็นแฟนตัวจริงของแอนดี แซมเบิร์ก และผมคิดว่ามันสนุก"
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Pilkington, Ed (March 10, 2011). "Forbes rich list: Facebook six stake their claims". The Guardian. UK. สืบค้นเมื่อ March 30, 2011.
- ↑ David Kirkpatrick. The Facebook Effect. p. 322.
- ↑ Kroll, Luisa, บ.ก. (March 5, 2008). "In Pictures: Youngest Billionaires: Mark Zuckerberg, U.S.: Age 23: $1.5 billion, self-made". Forbes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 5, 2012.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ "Mark Zuckerberg". Nndb.com. สืบค้นเมื่อ May 11, 2011.
- ↑ Mark Zuckerberg. Forbes. สืบค้นเมื่อ June 4, 2018.
- ↑ 6.0 6.1 Vargas, Jose Antonio (September 20, 2010). "The Face of Facebook". The New Yorker. สืบค้นเมื่อ 2010-09-22.
- ↑ "Did Mark Zuckerberg's Inspiration for Facebook Come Before Harvard?". ReadWriteWeb. May 10, 2009. สืบค้นเมื่อ October 9, 2010.
- ↑ Brandon Griggs (October 11, 2010). "Facebook, Zuckerberg spoofed on 'SNL'". CNN. สืบค้นเมื่อ October 11, 2010.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Teerayut.S/ทดลองเขียน ที่เฟซบุ๊ก
- Teerayut.S/ทดลองเขียน ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส
- งานโดยหรือเกี่ยวกับ Teerayut.S/ทดลองเขียน ในห้องสมุดต่าง ๆ ในแคตาลอกของเวิลด์แคต
- Mark Zuckerberg - Forbes
- รายการเอกสาร
- Mark Zuckerberg's patents at ip.com
- การสัมภาษณ์
- Video of interview, Leslie Stahl, Sixty Minutes
- Video of Interview, Rick Stengel, Time Magazine December 2010
ก่อนหน้า | Teerayut.S/ทดลองเขียน | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
เบ็น เบอร์นานคี | บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ (พ.ศ. 2553) |
ผู้ประท้วง |