นิวเวิลด์ออร์เดอร์ (มวยปล้ำอาชีพ)
New World Order | |
---|---|
The nWo logo | |
กลุ่ม | |
สมาชิก | Hulk Hogan (leader and co-founder) Scott Hall (co-founder) Kevin Nash (co-founder) See full list |
ฉายา | New World Order nWo Hollywood nWo Wolfpac nWo Elite nWo 2000 nWo Japan The Wolfpac |
เปิดตัว | July 7, 1996[1] |
ช่วงที่ ปรากฏตัว | 1996–2001 2002–present (reunions) |
สมาคม | WCW[1] NJPW[2] WWF/WWE[3] |
นิว เวิลด์ ออร์เดอร์ เป็นกลุ่มนักมวยปล้ำ ที่ออกโรงเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1996
ประวัติ
[แก้]ดับเบิลยูซีดับเบิลยู (WCW)
[แก้]หลังจากที่เขาเสียแชมป์โลกไป เขาก็ย้ายมาอยู่สมาคม WCW อย่างรวดเร็วในปี 1994 และ โฮแกน ก็สามารถคว้า แชมป์โลก WCW ไปครอง ในศึก Bash At The Beach 1996 ได้ก่อตั้ง nWo ที่มี Dennis Rodman, Kevin Nash และ Scott Hall จากนั้นก็แยกกลุ่มเป็น 2 สาขา คือ nWo แดง-ดำ และ ขาว-ดำ ซึ่ง ขาว-ดำ ก็มี Hulk Hogan, Scott Norton, Brian Adam, Vincent, Scott Steiner, Bagwell และ Giant ส่วน แดง-ดำ ก็มี Kevin Nash, Scott Hall, Sting และ Lex Luger ระหว่างนั้น นักมวยปล้ำบางคนก็มีปัญหากันเองในกลุ่ม จากนั้นก็แยกทีมกันหมด กลายเป็น nWo เหมือนเดิม โฮแกน ก็เริ่มมีคนเชียร์มากขึ้น ช่วงนั้น Lex Luger ก็กลับมาที่ WCW หลังจากพักไปนานเกือบ 2 ปี เพราะบาดเจ็บหลังจากเสียแชมป์ให้กับ โฮแกน ในศึก HogWild 1997 โฮแกน นั้น ก็ได้มีโอกาสปล้ำกับ Sting ในศึก Fall Brawl 1999 และ Sting ได้ร่วมมือกับ Lex Luger เพื่อนเก่าของเขาและหักหลัง โฮแกน โดยเอาไม้เบสบอลตีใส่ โฮแกน และแพ้ด้วยท่า Scorpion Death Lock ไปในที่สุด
ดับเบิลยูดับเบิลยูอี (WWE)
[แก้]ในเวลานั้นปี 2002 วินซ์ แม็กแมน ก็ได้เรียก โฮแกน กลับมาพร้อมกับ เควิน แนช และ สก็อตต์ ฮอลล์ ในนามของ "nWo" และไปเล่นงานทั้ง เดอะ ร็อก และ สโตน โคลด์ สตีฟ ออสติน และ โฮแกน ก็ขอท้าเจอกับ เดอะ ร็อก ส่วน สก็อตต์ ฮอลล์ ก็ขอท้าเจอ สตีฟ ออสติน ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 18 และ โฮแกน ก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ให้กับ เดอะ ร็อก และกลับมาเป็น โฮแกน คนเดิมอีกครั้ง ส่วน ชอว์น ไมเคิลส์ ซึ่งกลับสู่สังเวียนมวยปล้ำอีกครั้ง หลังจากอาการบาดเจ็บที่หลังเป็นเวลา 5 ปี (ตั้งแต่ปี 1997-2002) ในนามกลุ่ม "nWo" ซึ่งในขณะนั้นมีสมาชิกได้แก่ เควิน แนช, สก็อตต์ ฮอลล์, เอ็กซ์-แพค, บูเกอร์ ที, บิ๊กโชว์ แต่กลับมาได้ไม่นาน กลุ่ม "nWo" ก็ได้สลายไป
ทีเอ็นเอ (TNA)
[แก้]ในวันที่ 4 มกราคม 2010 nWo ได้กับมาอีกครั้งในสมาคม ทีเอ็นเอ (TNA) ในรายการ TNA impact! คืนนั้นเป็นตอนพิเศษ 3 ชั่วโมงเต็ม
ผลงาน
[แก้]- New Japan Pro-Wrestling
- IWGP Heavyweight Championship (3 times) – Masahiro Chono (1), Scott Norton (1), Keiji Mutoh (1)[2]
- IWGP Tag Team Championship (3 times) – Masahiro Chono and Keiji Mutoh (1), Masahiro Chono and Hiroyoshi Tenzan (1), Hiroyoshi Tenzan and Satoshi Kojima (1)[2]
- Super Grade Tag League (1997) – Masahiro Chono and Keiji Mutoh
- Super Grade Tag League (1998) – Keiji Mutoh and Satoshi Kojima
- G1 Tag League (1999) – Keiji Mutoh and Scott Norton
- Nikkan Sports
- Match of the Year (1999) – Keiji Mutoh vs. Genichiro Tenryu on May 3 at Strong Energy – Tag 14
- Outstanding Performance (1998) – Keiji Mutoh
- Technique Award (1997) – The Great Muta
- Wrestler of the Year (1997) – Masahiro Chono
- Wrestler of the Year (1999) – Keiji Mutoh
- Pro Wrestling Illustrated
- Comeback of the Year (2002) – Hollywood Hulk Hogan
- Feud of the Year (1996) – Eric Bischoff vs. Vince McMahon
- Feud of the Year (1997) – Randy Savage vs. Diamond Dallas Page
- Match of the Year (2002) – Hollywood Hulk Hogan vs. The Rock on March 17 at WrestleMania X8
- Most Hated Wrestler of the Year (1996, 1998) – Hollywood Hogan
- Most Inspirational Wrestler of the Year (1999) – Hollywood Hogan
- Rookie of the Year (1996) – The Giant
- Tag Team of the Year (1997) – Kevin Nash and Scott Hall
- Wrestler of the Year (1996) – The Giant
- Tokyo Sports
- Match of the Year (1999) – Keiji Mutoh vs. Genichiro Tenryu on May 3 at Strong Energy – Tag 14
- Outstanding Performance (1998) – Keiji Mutoh
- Wrestler of the Year (1997) – Masahiro Chono
- Wrestler of the Year (1999) – Keiji Mutoh
- World Championship Wrestling
- WCW Cruiserweight Championship (1 time) – Syxx
- WCW United States Heavyweight Championship (10 times) – Curt Hennig (1), Bret Hart (3), Lex Luger (1), Scott Hall (2), Scott Steiner (1), Jeff Jarrett (2)[4]
- WCW World Heavyweight Championship (7 times) – Hollywood Hogan (4), Randy Savage (1), Kevin Nash (1), Bret Hart (1)[5]
- WCW World Tag Team Championship (11 times) – Kevin Nash and Scott Hall (6)2, Sting and The Giant (1), Sting and Kevin Nash (1), Scott Hall and The Giant (1), Ron and Don Harris (2)
- WCW World Television Championship (3 times) – Konnan (1), Scott Steiner (1), Scott Hall (1)
- World War 3 (3 times)
- World Wrestling Entertainment/WWE
- WWE Hardcore Championship (1 time) – Big Show
- WWE Hall of Fame (Class of 2020) – Hogan, Hall, Nash, and Waltman[6]
- Wrestling Observer Newsletter
- Best Box Office Draw (1997) – Hollywood Hogan
- Best Gimmick (1996) – nWo
- Feud of the Year (1996) New World Order vs. World Championship Wrestling
- Most Embarrassing Wrestler (1996, 1998–1999) – Hulk/Hollywood Hogan
- Readers' Least Favorite Wrestler (1996–2000) – Hollywood Hogan (1996–1999), Kevin Nash (2000)
- Rookie of the Year (1996) – The Giant
- Worst Match of the Year (1997) – Hollywood Hogan vs. Roddy Piper on February 23 at SuperBrawl VII
- Worst Match of the Year (1998) – Hollywood Hogan vs. The Warrior on October 25 at Halloween Havoc
- Worst Wrestler (1997, 1999–2000) – Hollywood Hogan (1997), Kevin Nash (1999–2000)
1 As part of the New World Order (nWo) storyline, the title was spray painted each time with the "nWo" initials and renamed as the nWo/WCW World Heavyweight Championship, while referred to by nWo members only as the nWo World Heavyweight Championship.
2 During one of their reigns, the nWo invoked "Wolfpac Rules" and named Syxx a co-champion due to a legitimate injury to Nash.
สื่อ
[แก้]- nWo 4 Life! (June 1, 1999, VHS)
- nWo: Back in Black (May 28, 2002, VHS and DVD)
- nWo: The Revolution (November 6, 2012, DVD and Blu-ray)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อnwo original
- ↑ 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อnwo japan
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อnwo wwf
- ↑ "WWE United States Championship official title history". WWE. สืบค้นเมื่อ 2008-01-24.
- ↑ "WCW World Heavyweight Championship official title history". WWE. สืบค้นเมื่อ 2008-01-24.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อHoFinductee