ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน525,230
ผู้ใช้สิทธิ65.59%
  First party Second party Third party
 
chatichai Choonhavan 1976.jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ชวลิต ยงใจยุทธ ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ประชาธิปัตย์ ความหวังใหม่ ชาติพัฒนา
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
Amnuay Viravan.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำ อำนวย วีรวรรณ บรรหาร ศิลปอาชา
พรรค นำไทย ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 1 ลดลง 2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอจอมบึง, อำเภอโพธาราม, อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิจัย วัฒนาประสิทธิ์ (4)* 152,009 69.11
ความหวังใหม่ สรอรรถ กลิ่นประทุม (1)* 151,635 68.94
ประชาธิปัตย์ ทวี ไกรคุปต์ (5)* 149,284 67.87
ความหวังใหม่ จิระ มังคลรังษี (2)✔ 114,274 51.95
ชาติพัฒนา เอกชัย เอกหาญกมล (9) 25,615 11.64
ความหวังใหม่ ธรากร สาลีติด (3) 9,551 4.34
ประชาธิปัตย์ อุบล ฉิมย้อย (6) 6,246 2.83
ชาติพัฒนา ชัยวัฒน์ ทาเวียง (8) 2,434 1.10
ชาติพัฒนา หม่อมหลวง ศรีสวาสดิ์ อิศรางกูร (7) 2,346 1.06
บัตรดี 219,937 95.42
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,233 1.40
บัตรเสีย 7,328 3.18
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 230,498 70.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 326,948 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก นำไทย
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอปากท่อ และอำเภอวัดเพลง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา วิเชษฐ์ เกษมทองศรี (3) 76,261 69.76
ประชาธิปัตย์ บุญมาก ศิริเนาวกุล (5)* 63,773 58.33
ชาติไทย ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ (1)* 47,191 43.17
ประชาธิปัตย์ ธนพล นิติธารากุล (6) 5,807 5.31
ชาติพัฒนา พันธ์ศักดิ์ เกษมทองศรี (4) 3,001 2.74
ชาติไทย ต่อศักดิ์ บุณยะบูรณ (2) 2,642 2.41
ไท (พ.ศ. 2539) มนัส สุขศรี (7) 368 0.33
ไท (พ.ศ. 2539) สมหวัง แก้วตาทิพย์ (8) 330 0.30
บัตรดี 109,314 95.89
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,486 1.30
บัตรเสีย 3,198 2.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 113,998 57.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 198,282 100.00
ชาติพัฒนา ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-06-28. สืบค้นเมื่อ 2024-06-19.