รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี
หน้าตา
รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี Nemzeti Összefogás Kormánya | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1944–1945 | |||||||||||
สถานะ | รัฐบาลหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี | ||||||||||
เมืองหลวง | บูดาเปสต์ | ||||||||||
ภาษาทั่วไป | ฮังการี | ||||||||||
ศาสนา | โรมันคาทอลิก ลัทธิคาลวิน ลูเทอแรน | ||||||||||
การปกครอง | รัฐฮังการีนิยม รัฐพรรคการเมืองเดียว ระบอบเผด็จการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ ภายใต้การบริหารของนาซีเยอรมนี | ||||||||||
ผู้นำประเทศ | |||||||||||
• 1944–1945 | แฟแร็นตส์ ซาลอชี | ||||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภานิติบัญญัติ | ||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามโลกครั้งที่สอง | ||||||||||
15 ตุลาคม 1944 | |||||||||||
• สถาปนารัฐบาล | 17 ตุลาคม 1944[2] | ||||||||||
• สมาชิกรัฐบาลลี้ภัยไปยังเยอรมนี | 28–29 มีนาคม 1945[3] | ||||||||||
• สิ้นสุดการยึดครองทางทหารของเยอรมนีในฮังการี | 12 เมษายน 1945[4] | ||||||||||
• การจับกุมตัวซาลอชี | 6 พฤษภาคม 1945[5] | ||||||||||
• สิ้นสุด | 7 พฤษภาคม 1945[5] | ||||||||||
สกุลเงิน | แป็งเกอ | ||||||||||
|
รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี (ฮังการี: Nemzeti Összefogás Kormánya)[6] เป็นรัฐบาลนิยมนาซีของพรรคแอร์โรว์ครอสส์โดยยึดอำนาจจากมิกโลช ฮอร์ตี ผู้สำเร็จราชการแห่งราชอาณาจักรฮังการีในปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ ในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1944[2][7] และ แฟแร็นตส์ ชาลอชี ได้ขึ้นเป็นผู้นำฮังการีโดยยุคนี้ชาวยิวกว่า 8,000 คน รวมทั้งผู้หญิงและเด็กถูกเนรเทศออกจากฮังการีและส่งเข้าค่ายกักกันเอาชวิทซ์.[8]และชาวยิวในฮังการีอีกกว่า 15,000 คนถูกสังหาร[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Adeleye, Gabriel G. (1999). World Dictionary of Foreign Expressions, Thomas J. Sienkewicz and James T. McDonough, Jr., Eds., Wauconda, Illinois: Bolchazy-Carducci Publishers, Inc. ISBN 0-86516-422-3.
- ↑ 2.0 2.1 Nevenkin, Kamen (2012). Take Budapest: The Struggle for Hungary, Autumn 1944. New York: The History Press. p. 53. ISBN 9780752477039. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
- ↑ Gosztonyi, Péter (1992). A Magyar Honvédség a második világháborúban (2nd ed.). Budapest: Európa Könyvkiadó. p. 255. ISBN 963-07-5386-3.
- ↑ Gosztonyi, Péter (1992). A Magyar Honvédség a második világháborúban (2nd ed.). Budapest: Európa Könyvkiadó. p. 256. ISBN 963-07-5386-3.
- ↑ 5.0 5.1 Gosztonyi, Péter (1992). A Magyar Honvédség a második világháborúban (ภาษาฮังการี) (2nd ed.). Budapest: Európa Könyvkiadó. pp. 275–276. ISBN 963-07-5386-3.
- ↑ Nemzeti Összefogás Kormánya, Szálasi-kormány, nyilas kormány (ฮังการี)
- ↑ Gosztonyi, Péter (1992). A Magyar Honvédség a második világháborúban (ภาษาฮังการี) (2nd ed.). Budapest: Európa Könyvkiadó. p. 215. ISBN 963-07-5386-3.
- ↑ Johnston, Chris (2006-02-16). "War Crime Suspect Admits to his Leading Fascist Role". The Age. สืบค้นเมื่อ 2009-04-19.
- ↑ Patai, Raphael (1996). The Jews of Hungary:History, Culture, Psychology. 590: Wayne State University Press. p. 730. ISBN 0-8143-2561-0.
{{cite book}}
: CS1 maint: location (ลิงก์)