เส้นหมี่
หน้าตา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
เส้นหมี่อบแห้ง | |
ประเภท | หมี่ข้าว |
---|---|
แหล่งกำเนิด | ภาคใต้ของประเทศจีน |
ภูมิภาค | เอเชียตะวันออก, อนุทวีปอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
ส่วนผสมหลัก | ข้าว |
รูปแบบอื่น | Guilin mǐfěn |
เส้นหมี่ | |||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 米粉 | ||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเวียดนาม | |||||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาเวียดนาม | bún | ||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาไทย | |||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรไทย | เส้นหมี่ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||||||||||||||||
คานะ | ビーフン (bīfun) | ||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อมลายู | |||||||||||||||||||||||||||||||
มลายู | bihun | ||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาฟิลิปีโน | |||||||||||||||||||||||||||||||
ตากาล็อก | bihon | ||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อทมิฬ | |||||||||||||||||||||||||||||||
ทมิฬ | சேவை (sevai) | ||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อเขมร | |||||||||||||||||||||||||||||||
เขมร | នំបញ្ចុក (num bănhchŏk) |
เส้นหมี่ หรือ หมี่ขาว คือเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากข้าว[1] มีลักษณะเป็นเส้นกลมสม่ำเสมอสีขาว เส้นเล็กและยาว คล้ายวุ้นเส้นแต่ไม่มีความใส เส้นหมี่ใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารหลายชนิดในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยมักนำไปทำเป็น ก๋วยเตี๋ยว ราดหน้า ผัดซีอิ๊ว ผัดหมี่ เป็นต้น. จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทยจะเรียกเส้นหมี่ว่า หมี่หุ้น หรือ บี่หุ้น
คำว่า หมี่ มาจากภาษาจีน 米 (พินอิน: mǐ หมี่) แปลว่า "ข้าว" ในภาษาจีนนั้นจะเรียกเส้นหมี่ว่า 米粉 (พินอิน: mífěn หมีเฝิ่น) ซึ่งแปลตรงตัวได้ว่า "เส้นข้าว"
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lori Alden (2005). "Asian Rice Noodles". สืบค้นเมื่อ November 4, 2011.