สักกะ
หน้าตา
สักกะ/ศากยะ | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ป. 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช–ป. 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |||||||||
แคว้นสักกะ (สีส้ม) ในคณสังฆะ | |||||||||
แคว้นสักกะตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาชนบท ช่วงยุคหลังพระเวท | |||||||||
เมืองหลวง | กบิลพัสดุ์ | ||||||||
ภาษาทั่วไป | ปรากฤต มุณฑา[1] | ||||||||
ศาสนา | สมณะของศาสนาพราหมณ์[2] ต่อมาศาสนาพุทธ[1] | ||||||||
การปกครอง | สาธารณรัฐ | ||||||||
ราชา | |||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคเหล็ก | ||||||||
• ก่อตั้ง | ป. 700 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||
• ถูกพิชิตโดยวิฑูฑภะแห่งโกศล | ป. 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | ประเทศอินเดีย ประเทศเนปาล |
ส่วนหนึ่งของชุดบทความ |
ศาสนาพุทธ |
---|
ศากยะ (สันสกฤต: शाक्य ศากฺย) หรือ สักกะ (บาลี: Sakka, Sakya, Sākiya) เป็นราชสกุลและเชื้อชาติหนึ่งซึ่งสืบเชื้อสายมาจากอิกษวากุ บรรพชนของตระกูลนี้ได้สร้างและครองกรุงกบิลพัสดุ์ พระโคตมพุทธเจ้าก็มาจากราชสกุลนี้[3] และเรียกแคว้นของชาวศากยะว่าสักกชนบท[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Levman 2014.
- ↑ Neha Grover (7 ธันวาคม 2022). "Shramana - Religion in India - Art and Culture Notes". Prepp.in.
- ↑ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (2003). "ศากยะ". พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (10 ed.). บรรทัดที่ 3075. ISBN 974-575-029-8.
- ↑ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (2003). "สักกชนบท". พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (10 ed.). บรรทัดที่ 3285. ISBN 974-575-029-8.
บรรณานุกรม
[แก้]- Levman, Bryan G. (2014). "Cultural Remnants of the Indigenous Peoples in the Buddhist Scriptures". Buddhist Studies Review. 30 (2): 145–180. doi:10.1558/bsrv.v30i2.145. สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) (2005). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด "คำวัด" (1 ed.). กรุงเทพฯ: วัดราชโอรสาราม. ISBN 974-493-883-8.