ข้ามไปเนื้อหา

ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 3

พิกัด: 49°58′0″N 36°19′0″E / 49.96667°N 36.31667°E / 49.96667; 36.31667
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 3
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง

เยอรมันได้โจมตีตอบโต้บนแนวรบด้านตะวันออก, กุมภาพันธ์–มีนาคม ปี ค.ศ. 1943
วันที่19 กุมภาพันธ์  – 15 มีนาคม 1943
สถานที่49°58′0″N 36°19′0″E / 49.96667°N 36.31667°E / 49.96667; 36.31667
ผล เยอรมันได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม
 สหภาพโซเวียต  ไรช์เยอรมัน
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหภาพโซเวียต Filipp Golikov
สหภาพโซเวียต นีโคไล วาตูติน
สหภาพโซเวียต เค. โรคอสซอฟสกี
นาซีเยอรมนี แอริช ฟอน มันชไตน์
นาซีเยอรมนี เพาล์ เฮาส์เซอร์
นาซีเยอรมนี แฮร์มันน์ โฮท
นาซีเยอรมนี Eberhard von Mackensen
นาซีเยอรมนี ธีโอดอร์ ไอค์เคอ 
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
สหภาพโซเวียต Central Front

(Sub formations)
1st Guards Army
2nd Guards Tank Army
3rd Tank Army
4th Tank Army
6th Army
21st Army
24th Army
40th Army
57th Army
62nd Army
63rd Army
64th Army
65th Army
66th Army
70th Army

16th Air Army
นาซีเยอรมนี 4th Panzer Army

(sub units)

II SS Panzer Corps
XLVIII Panzer Corps
นาซีเยอรมนี 1st Panzer Army

(sub units)

XXIV Panzer Corps
XXX Army Corps
XXXX Army Corps
LVII Army Corps
4th Air Fleet
6th Air Fleet
กำลัง
Involved in the defense of Kharkov: 346,000 [1] Involved in the offense on Kharkov: 70,000 [2]
ความสูญเสีย
86,469 overall
45,219 killed
41,250 wounded[1]
~11,500 overall
~4,500 KIA and MIA[3]
~7,000 wounded[3]

ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 3 เป็นหนึ่งในการสู้รบในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง.ปฏิบัติการโดยกองทัพกลุ่มตอนใต้ได้ต่อสู้รบกับกองทัพแดง,บริเวณรอบๆของเมืองฮาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) ระหว่างวันที่ 19 กุมภาพันธ์ และ 15 มีนาคม ค.ศ. 1943ได้เป็นที่รู้จักกันในด้านเยอรมันคือ การทัพดอนเนซ ( Donets Campaign) และในฝ่ายโซเวียตคือ ปฏิบัติการดอนบัสและฮาร์คอฟ เยอรมันได้เข้าจู่โจมเพื่อยึดเมืองฮาร์คอฟและเบลโกรอดกลับคืนมา

เมื่อกองทัพที่ 6 ของเยอรมันได้ถูกล้อมอยู่ในสตาลินกราด กองทัพแดงได้ทำการโจมตีอย่างต่อเนื่องจากส่วนที่หลงเหลือของกองทัพกลุ่มตอนใต้ เมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1943 เมื่อกองทัพแดงได้เริ่มปฏิบัติการดวงดาว (Operation Star) และปฏิบัติการเกลลูป (Operation Gallop) ซึ่งระหว่างเดือนมกราคมและต้นเดือนกุมภาพันธ์ ได้ทำลายการป้องกันของเยอรมันและทำให้โซเวียตได้ยึดฮาร์คอฟ, เบลโกรอด, และคูสค์กลับคืนมาได้ เช่นเดียวกับโวโรชีลอฟกราด (Voroshilovgrad) และ Izium โซเวียตได้รับชัยชนะและได้ทำให้หน่วยทหารโซเวียตได้เข้าร่วมจนขยายตัวมากขึ้น.เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ กองทัพที่ 6 แห่งเยอรมันได้ยอมจำนน กองทัพแดงส่วนกลางของแนวหน้าได้หันเหไปทางตะวันตกและเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ การแผ่ขยายการรุกต่อกรกับกองทัพกลุ่มตอนใต้และกองทัพกลางของเยอรมัน,เดือนของปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามได้รับผลกระทบอย่างหนักของกองทัพโซเวียตและกองพลบางส่วนได้ลดลงถึง 1,000–2,000 หน่วยรบที่มีประสิทธิภาพ.เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ จอมพลแอริช ฟอน มันชไตน์ได้โจมตีโต้กลับ โดยได้ใช้เหล่ายานเกราะเอสเอสที่ 2และแพนเซอร์ 2 กลุ่ม

กองทัพเวร์มัคท์ได้ทำการโจมตีขนาบข้าง, โอบล้อมรอบ และเอาชนะกองทัพแดงที่เป็นหัวหอกของฮาร์คอฟทางตอนใต้ไว้ได้ ทำให้มันชไตน์ได้เริ่มที่จะรุกครั้งใหม่ที่ฮาร์คอฟที่เหมาะสม เมื่อวันที่ 7 มีนาคม.แม้ว่าจะมีคำสั่งในการโอบล้อมฮาร์คอฟจากทางตอนเหนือ เหล่ายานเกราะเอสเอสได้ตัดสินใจแทนในการเข้าร่วมโดยตรงที่ฮาร์คอฟเมื่อวันที่ 11 มีนาคม ได้นำไปสู่การสู้รบบ้านต่อบ้านเพียงสี่วัน ก่อนที่ฮาร์คอฟจะถูกยึดกลับคืนมาโดยกองพลแพนเซอร์เอสเอสที่ 1 เมื่อวันที่ 15 มีนาคมกองทัพเยอรมันได้ยึดเบลโกรอดกลับคืนมาในสองวันต่อมา ได้สร้างส่วนที่ยื่นออกมาซึ่งในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1943 ได้นำไปสู่การรบที่คูสค์ การรุกรานของเยอรมันได้ทำให้กองทัพแดงเสียทหารไปประมาณ 9 หมื่นนาย การสู้รบแบบบ้านต่อบ้านในฮาร์คอฟนั้นยังเป็นการหลั่งเลือดโดยเฉพาะอย่างยิ่งของเหล่าแพนเซอร์เอสเอสของเยอรมัน ซึ่งจำนวนประมาณ 4,300 คนถูกฆ่าตายและได้รับบาดเจ็บโดยเวลาปฏิบัติการได้สิ้นสุดลงในช่วงกลางเดือนมีนาคม

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Glantz95296
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Glantz91252253
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Reynolds10

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • Glantz (1995), p. 296
  • Glantz (1991), pp. 152–153
  • Reynolds (1997), p. 10
  • Kharkov is the Russian language name of the city (Kharkiv the Ukrainian one) ; both Russian and Ukrainian were official languages in the Soviet Union (Source:Language Policy in the Soviet Union by L.A. Grenoble & Eastern Europe and the Commonwealth of Independent States by Routledge)

Jump up ^ Cooper (1978), p. 451