ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลก 2002

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลก 2002
2002 FIFA 월드컵 한국/일본
2002 FIFA Woldeu Keob Hanguk/Ilbon
2002 FIFAワールドカップ 韓国/日本
2002 FIFA Waarudo Kappu Kankoku/Nihon
ไฟล์:2002 Football World Cup logo.png
สัญลักษณ์ฟุตบอลโลก 2002 อย่างเป็นทางการ
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพเกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
วันที่31 พฤษภาคม-30 มิถุนายน
ทีม32 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่20 (ใน 20 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 5)
รองชนะเลิศธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
อันดับที่ 3ธงชาติตุรกี ตุรกี
อันดับที่ 4ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู161 (2.52 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม2,705,134 (42,268 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล โรนัลโด (8 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเยอรมนี โอลิเวอร์ คาห์น
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเยอรมนี โอลิเวอร์ คาห์น
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมสหรัฐ แลนดอน โดโนแวน
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม
1998
2006

ฟุตบอลโลก 2002 (2002 FIFA World Cup Korea/Japan) จัดขึ้นในเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ในวันที่ 31 พฤษภาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 17 และเป็นครั้งแรกที่มีเจ้าภาพ 2 ประเทศ ซึ่งทำให้ทีมชาติเกาหลีใต้และทีมชาติญี่ปุ่นเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับทีมชาติฝรั่งเศสที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 1998 และนับเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปเอเชีย

ในการแข่งขันนี้ทีมชาติบราซิลชนะเยอรมนี 2-0 ในนัดชิงชนะเลิศ

รายชื่อประเทศที่เข้ารอบ

[แก้]

สนามแข่งขัน

[แก้]
เกาหลีใต้
โซล แทกู ปูซาน อินช็อน อุลซัน
โซลเวิลด์คัปสเตเดียม
ความจุ: 63,961[2]
Group/Knock-out
แทกูเวิลด์คัปสเตเดียม
ความจุ: 68,014[3]
Group/Knock-out/third place
ปูซานเอซีแอดเมนสเตเดียม
ความจุ: 55,982[4]
Group
อินช็อนมูนฮักสเตเดียม
ความจุ: 52,179[5]
Group
อุลซันมุนซูฟุตบอลสเตเดียม
ความจุ: 43,550[6]
Group/Knock-out
ซูว็อน ควังจู ช็อนจู แทจ็อน ซอกวีโพ
ซูวอนเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 43,188[7]
Group/Knock-out
ควังจูเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 42,880[8]
Group/Knock-out
ชอนจูเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 42,391[9]
Group/Knock-out
แทจ็อนเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 40,407[10]
Group/Knock-out
เชจูเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 42,256[11]
Group/Knock-out
ญี่ปุ่น
โยโกฮามะ ไซตามะ ฟูกูโรอิ โอซากะ ริฟุ
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
ความจุ: 70,000[12]
Group/Knock-out/Final
สนามกีฬาไซตามะ 2002
ความจุ: 63,000[13]
Group/Knock-out
ชิซูโอกะสเตเดียม
ความจุ: 50,600[14]
Group/Knock-out
นากาอิสเตเดี้ยม
ความจุ: 50,000[15]
Group/Knock-out
มิยางิสเตเดียม
ความจุ: 49,000[16]
Group/Knock-out
โออิตะ นีงาตะ คาชิมะ โคเบะ ซัปโปโระ
โออิตะสเตเดียม
ความจุ: 43,000[17]
Group/Knock-out
นีงาตะสเตเดียม
ความจุ: 42,300[18]
Group/Knock-out
คะชิมะซอกเกอร์สเตเดียม
ความจุ: 42,000[19]
Group
โคเบะวิงสเตเดียม
ความจุ: 42,000[20]
Group/Knock-out
ซัปโปโระโดม
ความจุ: 42,000[21]
Group

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 2 1 0 5 2 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล 3 1 2 0 5 4 +1 5
3 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 3 0 2 1 4 5 −1 2
4 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 0 1 2 0 3 −3 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสเปน สเปน 3 3 0 0 9 4 +5 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติปารากวัย ปารากวัย 3 1 1 1 6 6 0 4
3 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 1 1 1 5 5 0 4
4 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 3 0 0 3 2 7 −5 0
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 3 0 0 11 3 +8 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติตุรกี ตุรกี 3 1 1 1 5 3 +2 4
3 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 3 1 1 1 5 6 −1 4
4 ธงชาติจีน จีน 3 0 0 3 0 9 −9 0
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (H) 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3 1 1 1 5 6 −1 4
3 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 1 0 2 6 4 +2 3
4 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 3 1 0 2 3 7 −4 3
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 2 1 0 11 1 +10 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสาธารณรัฐไอร์แลนด์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 3 1 2 0 5 2 +3 5
3 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน 3 1 1 1 2 3 −1 4
4 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 0 12 −12 0
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 1 2 0 4 3 +1 5 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 3 1 2 0 2 1 +1 5
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 1 1 1 2 2 0 4
4 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 0 1 2 1 3 −2 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 2 1 0 4 2 +2 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 3 1 1 1 4 3 +1 4
3 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 3 1 0 2 2 3 −1 3
4 ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 3 1 0 2 2 4 −2 3
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria

กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (H) 3 2 1 0 5 2 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 3 1 2 0 6 5 +1 5
3 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 3 1 0 2 4 4 0 3
4 ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 3 0 1 2 1 5 −4 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : Tie-breaking criteria
(H) เจ้าภาพ.

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
29 มิถุนายน - นีงาตะ            
 ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก  0
6 กรกฎาคม - ฟูกูโรอิ
  อังกฤษ  3  
  อังกฤษ  1
1 กรกฎาคม - โคเบะ
   ธงของประเทศบราซิล บราซิล  2  
 ธงของประเทศบราซิล บราซิล  2
10 กรกฎาคม - ไซตามะ
 ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม  0  
 ธงของประเทศบราซิล บราซิล  1
30 มิถุนายน - โออิตะ
   ธงของประเทศตุรกี ตุรกี  0  
 ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน  1
7 กรกฎาคม - โอซากะ
 ธงของประเทศเซเนกัล เซเนกัล (aet)  2  
 ธงของประเทศเซเนกัล เซเนกัล  0
2 กรกฎาคม - ริฟุ
   ธงของประเทศตุรกี ตุรกี (aet)  1  
 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  0
14 กรกฎาคม - โยโกฮามะ
 ธงของประเทศตุรกี ตุรกี  1  
 ธงของประเทศบราซิล บราซิล  2
30 มิถุนายน - ซูว็อน
   ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  0
 ธงของประเทศสเปน สเปน (pen)  1 (3)
7 กรกฎาคม - ควังจู
 ธงของประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์  1 (2)  
 ธงของประเทศสเปน สเปน  0 (3)
2 กรกฎาคม - แทจ็อน
   ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (pen)  0 (5)  
 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (aet)  2
9 กรกฎาคม - โซล
 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี  1  
 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  0
29 มิถุนายน - เชจู
   ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  1   อันดับที่ 3
 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  1
6 กรกฎาคม - อุลซัน 13 กรกฎาคม - แทกู
 ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย  0  
 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  1  ธงของประเทศตุรกี ตุรกี  3
1 กรกฎาคม - ช็อนจู
    สหรัฐ  0    ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  2
 ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก  0
  สหรัฐ  2  

ผู้ทำประตู

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. โรนัลโดยิง 8 ประตู รวมประตูนัดที่แข่งกับคอสตาริก้าที่ทำเข้าประตูตัวเอง ข่าวจากบีบีซี
  2. "Seoul World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  3. "Daegu World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  4. "Busan Asiad Main Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  5. "Incehon Munhak Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  6. "Ulsan Munsu Football Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 June 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  7. "Suwon World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  8. "Gwangju World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  9. "Jeonju World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  10. "Daejeon World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 December 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  11. "Jeju World Cup Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  12. "International Stadium Yokohama". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  13. "Saitama Stadium 2002". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  14. "Shizuoka Stadium Ecopa". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  15. "Nagai Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  16. "Miyagi Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  17. "Oita Stadium Big Eye". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 June 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  18. "Niigata Stadium Big Swan". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  19. "Ibaraki Kashima Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  20. "Kobe Wing Stadium". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 April 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.
  21. "Sapporo Dome". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 August 2002. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.