ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิจฉาทิฐิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ประเภท: แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ มี 2 อย่าง<ref>[http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=2259&Z=2294/ ตติยปัณณาสก์ อาสาวรรคที่ ๑ ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐]</ref> ได้แก่
ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ มี 2 อย่าง<ref>[http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=2259&Z=2294/ ตติยปัณณาสก์ อาสาวรรคที่ ๑ ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐]</ref> ได้แก่
* [[ปรโตโฆสะ]] คือ การโฆษณาแต่บุคคลอื่น เสียงจากผู้อื่น ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น
* [[ปรโตโฆสะ]] คือ การโฆษณาแต่บุคคลอื่น เสียงจากผู้อื่น ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น
* อ[[โยนิโสมนสิการ]] คือ การทำในใจโดยไม่แยบคาย การไม่ใช้[[ปัญญา]]พิจารณา ความไม่รู้จักคิด การปล่อยให้อวิชาครอบงำ ตรงกันข้ามกับคำว่า [[โยนิโสมนสิการ]]
* อ[[โยนิโสมนสิการ]] คือ การทำในใจโดยไม่แยบคาย การไม่ใช้[[ปัญญา]]พิจารณา ความไม่รู้จักคิด การปล่อยให้[[อวิชชา]]ครอบงำ ตรงกันข้ามกับคำว่า [[โยนิโสมนสิการ]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:26, 9 กุมภาพันธ์ 2563

มิจฉาทิฐิ ([มิจฺฉาทิฏฺฐิ] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) เรียกโดยย่อว่า "ทิฐิ"[1] หมายถึง ความเห็นผิดจากความเป็นจริง[2] หรือผิดจากทำนองคลองธรรม[3]

ประเภท

พระไตรปิฎกภาษาบาลี แบ่งหมวดมิจฉาทิฏฐิไว้หลายแบบ เช่น สักกายทิฏฐิ 20 ในนกุลปิตาสูตร ทิฏฐิ 62 ในพรหมชาลสูตร และนิยตมิจฉาทิฏฐิ 3 ในสามัญญผลสูตร เป็นต้น

นิยตมิจฉาทิฐิ 3 ได้แก่[4]

  1. นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นผิดว่าไม่มี ได้แก่
    1. นตฺถิ ทินฺนํ การให้ไม่มีผล
    2. นตฺถิ ยิฏฺฐํ การบูชาไม่มีผล
    3. นตฺถิ หุตํ การเซ่นสรวงไม่มีผล
    4. นตฺถิ สุกตทุกฺกฏานํ กม์มานํ ผลํ วิปาโก ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีทำชั่วไม่มี
    5. นตฺถิ อยํ โลโก โลกนี้ไม่มี
    6. นตฺถิ ปโร โลโก โลกหน้าไม่มี
    7. นตฺถิ มาตา มารดาไม่มีคุณ
    8. นตฺถิ ปิตา บิดาไม่มีคุณ
    9. นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา สัตว์ที่เกิดผุดขึ้นไม่มี
    10. นตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา สมฺมาปฏิปนฺนา เย อิมญฺจ โลกํ ปรญฺจ โลกํ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทนฺติ สมณพราหมณ์ผู้ประพฤติปฏิบัติชอบทำให้แจ้งโลกนี้และโลกหน้าด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้งก็ไม่มีในโลก
  2. อเหตุกทิฐิ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ
  3. อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทำ

ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ

ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ มี 2 อย่าง[5] ได้แก่

อ้างอิง

  1. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม: ทิฏฐิ 2
  2. พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ ๕ เล่ม ๒ กัมมจตุกกะ และ มรณุปปัตติจตุกกะ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, 2555. 334 หน้า. หน้า 152.
  3. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  4. สามัญญผลสูตร, พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
  5. ตติยปัณณาสก์ อาสาวรรคที่ ๑ ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐