ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กิเลส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Eq072 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Manop
Saadpralard (คุย | ส่วนร่วม)
+interlink
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
{{โครงศาสนา}}
{{โครงศาสนา}}


[[de:Klesha]]
[[en:Kilesa]]
[[ja:煩悩]]
[[it:Klesha]]
[[ru:Клеша]]
[[lo:ກິເລດ]]
[[lo:ກິເລດ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:50, 8 ธันวาคม 2550

กิเลส แปลว่า สิ่งเกาะติด สิ่งเปรอะเปื้อน สิ่งสกปรก

กิเลส คือ สิ่งที่แฝงติดอยู่ในใจแล้วทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัว มีอุปมาเหมือนสีที่ใส่ลงไปในน้ำทำให้น้ำมีสีเหมือนสีที่ใส่ลงไป ใจก็เช่นกัน ปกติก็ใสสะอาด แต่กลายเป็นใจดำ ใจง่าย ใจร้ายก็เพราะมีกิเลสเข้าไปอิงอาศัยผสมปนเปอยู่

กิเลสที่ชอบซุกหมักหมมอยู่ในใจคนมากที่สุด คือ ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะกิเลสชอบซุกหมักหมมอยู่ในใจของคน จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กิเลสาสวะ หรือ อาสวกิเลส แปลว่า กิเลสที่หมักดองอยู่ในจิต

ประเภทของกิเลส

  1. อโนตตัปปะ ความไม่รู้สึกตื่นกลัวต่อการทุจริต
  2. โทสะ ความโมโห โกรธ ความไม่พอใจ
  3. โมหะ ความหลงใหล ความโง่
  4. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่านไปต่างๆนานา
  5. ทิฏฐิ ความเห็นผิดเป็นชอบ
  6. วิจิกิจฉา ความเคลือบแคลงใจ สงสัย ไม่แน่ใจ ลังเลใจ ในสิ่งที่ควรเชื่อ
  7. โลภะ ความพอใจ ชอบพอ เต็มใจ ในโลกียอารมณ์ต่างๆ
  8. ถีนะ ความหดหู่ เงียบเหงา
  9. อหิริกะ ความไม่ละอายต่อการกระทำผิด ทุจริต
  10. มานะ ความ ทะนงตน ถือตัว เย่อหยิ่ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น