ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอสันติสุข"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
|- style=
|- style=
! ที่ !! ชื่อตำบล !! [[อักษรธรรมล้านนา|ตัวเมือง]] !! อักษรโรมัน !! จำนวนหมู่บ้าน !! จำนวนครัวเรือน!!จำนวนประชากร<ref> จำนวนประชากรและบ้าน จำแนกเป็นรายอำเภอ และรายตำบล จังหวัดน่าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2558, สำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย</ref>
! ที่ !! ชื่อตำบล !! [[อักษรธรรมล้านนา|ตัวเมือง]] !! อักษรโรมัน !! จำนวนหมู่บ้าน !! จำนวนครัวเรือน!!จำนวนประชากร<ref> จำนวนประชากรและบ้าน จำแนกเป็นรายอำเภอ และรายตำบล จังหวัดน่าน ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2558, สำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย</ref>
|-style="background: #ffffff;"
|-
||1.||[[ตำบลดู่พงษ์|ดู่พงษ์]]||[[ไฟล์:LN-Tambon-Du Phong.png|20px]]||Du Phong||8||1,729||5,033
||1.||[[ตำบลดู่พงษ์|ดู่พงษ์]]||[[ไฟล์:LN-Tambon-Du Phong.png|20px]]||Du Phong||8||1,729||5,033
|-style="background: #ffffff;"
|-
||2.||[[ตำบลป่าแลวหลวง|ป่าแลวหลวง]]||[[ไฟล์:LN-Tambon-Pa Laeo Luang.png|53px]]||Pa Laeo Luang||10||1,441||4,396
||2.||[[ตำบลป่าแลวหลวง|ป่าแลวหลวง]]||[[ไฟล์:LN-Tambon-Pa Laeo Luang.png|53px]]||Pa Laeo Luang||10||1,441||4,396
|-style="background: #ffffff;"
|-
||3.||[[ตำบลพงษ์|พงษ์]]||[[ไฟล์:LN-Tambon-Phong.png|10px]]||Phong||13||1,670||6,435
||3.||[[ตำบลพงษ์|พงษ์]]||[[ไฟล์:LN-Tambon-Phong.png|10px]]||Phong||13||1,670||6,435
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:27, 6 พฤษภาคม 2562

อำเภอสันติสุข
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Santi Suk
คำขวัญ: 
ประวัติศาสตร์วัวโพง สรงน้ำพระธาตุ
อภิวาทพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ยึดติดวัฒนธรรมล้านนา
แผนที่จังหวัดน่าน เน้นอำเภอสันติสุข
แผนที่จังหวัดน่าน เน้นอำเภอสันติสุข
พิกัด: 18°54′48″N 100°56′29″E / 18.91333°N 100.94139°E / 18.91333; 100.94139
ประเทศ ไทย
จังหวัดน่าน
พื้นที่
 • ทั้งหมด416.837 ตร.กม. (160.942 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2560)
 • ทั้งหมด15,793 คน
 • ความหนาแน่น37.88 คน/ตร.กม. (98.1 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 55210
รหัสภูมิศาสตร์5511
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอสันติสุข หมู่ที่ 4 ตำบลดู่พงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน 55000
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

สันติสุข (ไทยถิ่นเหนือ: ) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดน่าน

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอสันติสุขตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

ประวัติ

ท้องที่อำเภอสันติสุขแต่เดิมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเมืองน่านและอำเภอแม่จริม ต่อมาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 จึงมีประกาศกระทรวงมหาดไทยให้แยกตำบลดู่พงษ์ และตำบลป่าแลวหลวงออกจากการปกครองของอำเภอเมืองน่าน รวมตั้งเป็น กิ่งอำเภอสันติสุข[1][2] ต่อมาในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2526 มีพระราชกฤษฎีกาฯ เปลี่ยนแปลงเขตอำเภอแม่จริม กับกิ่งอำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน โดยให้โอนตำบลพงษ์ อำเภอแม่จริม ไปขึ้นกับกิ่งอำเภอสันติสุข และเมื่อถึงวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 จึงยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอสันติสุข จนถึงปัจจุบัน [3]

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอสันติสุขแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 ตำบล 31 หมู่บ้าน ได้แก่

ที่ ชื่อตำบล ตัวเมือง อักษรโรมัน จำนวนหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร[4]
1. ดู่พงษ์ Du Phong 8 1,729 5,033
2. ป่าแลวหลวง Pa Laeo Luang 10 1,441 4,396
3. พงษ์ Phong 13 1,670 6,435

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอสันติสุขประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 แห่ง ได้แก่

  • องค์การบริหารส่วนตำบลดู่พงษ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลดู่พงษ์ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลป่าแลวหลวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลป่าแลวหลวงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลพงษ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพงษ์ทั้งตำบล

ประเพณีที่น่าสนใจ

  • งานฉลองวัด เป็นประเพณีถวายทานเสนาสนะไว้ในพระพุทธศาสนา เช่น อุโบสถ วิหาร กุฏิ เป็นต้น ทางภาคเหนือส่วนใหญ่เรียกประเพณีนี้ว่า "ปอยหลวง" แต่ทางจังหวัดน่านมักเรียกว่า "ฉลองวัด" ไม่ปรากฏหลักฐานว่าแรกเริ่มตั้งแต่สมัยใด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ได้มีการเรียกประเพณีนี้ว่า "มหกรรมแห่ครัวตานล้านนา" เนื่องจากมีองค์กรของรัฐเข้ามาสนับสนุน เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล เป็นต้น

งานฉลองวัดจัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองเสนาสนะที่จัดสร้างขึ้น คณะศรัทธาแต่ละหัววัดภายในอำเภอจึงจัดขบวนแห่เพื่อร่วมแสดงความยินดี มีการแข่งขันขบวนแห่ แข่งขันบั้งไฟดอก ภายริ้วในขบวนจะมีส่วนประกอบสำคัญ คือ ธงชาติไทย ธงเสมาธรรมจักร เครื่องสักการะในพระพุทธศาสนา พระบรมฉายาลักษณ์ ป้ายหน้าบ้านตกแต่งอย่างสวยงามด้วยวัสดุที่มาจากธรรมชาติ รวมถึงเครื่องแต่งกายของผู้ถือป้าย ช่างฟ้อนในขบวนแต่ละขบวนที่สวมใส่ด้วยผ้าพื้นเมืองของเมืองน่านมีความสายงามตามแบบฉบับของคนเหนือ อีกทั้งท่วงท่าลีลาการร่ายรำของช่างฟ้อนก็สวยงามน่าชวนมอง แต่ส่วนสำคัญของงานมหกรรมแห่ครัวตานล้านนาครั้งนี้คือ องค์ไทยทาน เป็นของที่จะนำไปถวายวัดนั้น ๆ มักนิยมทำเป็นรูปแบบของผาสาทม่านหรือปราสาทม่าน เป็นปราสาทแบบหนึ่งทางภาคเหนือ

การคมนาคม

  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1169 (น่าน-สันติสุข)
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1225 (สันติสุข-แม่จริม)

สถานที่ท่องเที่ยว

  • น้ำตกแม่สะนาน
  • อ่างเก็บน้ำห้วยขอนแก่น
  • วัดโป่งคำ
  • ที่พักสงฆ์เวฬุวัน
  • วัดพระธาตุป่าแดด
  • วัดบ้านศรีบุญเรือง
  • วัดป่าแลวหลวง
  • บ้านกิ่วม่วง

อ้างอิง