ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''ภิกษุทั้งหลาย ! <big>เราจักแสดงซึ่งปฏิจจสมุปบาท</big>''' แก่พวกเธอทั้งหลาย. พวกเธอทั้งหลาย จงฟังซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั้น, จงทำในใจให้สำเร็จประโยชน์, เราจักกล่าวบัดนี้ ...
'''ปฏิจจสมุปบาท''' (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) ({{lang-pi|Paticcasamuppāda}}; {{lang-sa|Pratītyasamutpāda}}) เป็นชื่อ[[พระธรรม]]หัวข้อหนึ่งใน[[ศาสนาพุทธ]] เรียกอีกอย่างว่า '''อิทัปปัจจยตา''' หรือ '''ปัจจยาการ''' เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ


* เพราะ[[อวิชชา]]เป็นปัจจัย [[สังขาร]]จึงมี
ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ปฏิจจสมุปบาท เป็นอย่างไรเล่า ? (๑) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี.'''
* เพราะสังขารเป็นปัจจัย [[วิญญาณ]]จึงมี
* เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย [[นามรูป]]จึงมี
* เพราะนามรูปเป็นปัจจัย [[สฬายตนะ]]จึงมี
* เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย [[ผัสสะ]]จึงมี
* เพราะผัสสะเป็นปัจจัย [[เวทนา]]จึงมี
* เพราะเวทนาเป็นปัจจัย [[ตัณหา]]จึงมี
* เพราะตัณหาเป็นปัจจัย [[อุปาทาน|อุปทาน]]จึงมี
* เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย [[ภพ]]จึงมี
* เพราะภพเป็นปัจจัย [[ชาติ]]จึงมี
* เพราะชาติเป็นปัจจัย [[ชรา]][[มรณะ]]จึงมี
* [[ความโศก]] [[ความคร่ำครวญ]] [[ทุกข์]] [[โทมนัส]] และ[[ความคับแค้นใจ]] ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา


หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา
ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,จะไม่บังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว;


== ลำดับแห่งปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับทุกข์ ==
* '''คือ ความตั้งอยู่แห่งธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา),'''
* '''คือ ความเป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา (ธัมมนิยามตา),'''
* '''คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).'''


[[ทุกข์|ความทุกข์]] จะดับไปได้เพราะ [[ชาติ]] (การเกิดอัตตา"ตัวตน"คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ
ตถาคต ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนั้น; ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ;


[[ชาติ]] จะดับไปได้เพราะ [[ภพ]] (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ
และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้งหลายจงมาดู : '''เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี'''” ดังนี้.


[[ภพ]] จะดับไปได้เพราะ [[อุปาทาน]] (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ
ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น


[[อุปาทาน]] จะดับไปได้เพราะ [[ตัณหา]] (ความอยาก) ดับ
* อันเป็น '''ตถตา คือ ความเป็นอย่างนั้น''',
* เป็น '''อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น''',
* เป็น '''อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น''',
* เป็น '''อิทัปปัจจยตา คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น''';


[[ตัณหา]] จะดับไปได้เพราะ [[เวทนา]] (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ
ภิกษุทั้งหลาย ! '''<big>ธรรมนี้เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท</big>'''


[[เวทนา]] จะดับไปได้เพราะ [[ผัสสะ]] (การสัมผัส) ดับ
* (๒) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติย่อมมี'''. ...ฯลฯ… ''<sup>*{๑}</sup>''
* (๓) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๔) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๕) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาย่อมมี'''. ...ฯลฯ...
* (๖) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๗) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะย่อมมี'''. ...ฯลฯ…
* (๘) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะย่อมมี.''' ...ฯลฯ…
* (๙) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปย่อมมี.''' ...ฯลฯ...
* (๑๐) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณย่อมมี.''' ...ฯลฯ…
* (๑๑) ภิกษุทั้งหลาย ! '''เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายย่อมมี.'''


[[ผัสสะ]] จะดับไปได้เพราะ [[สฬายตนะ]] ([[อายตนะ]]ใน๖+นอก๖) ดับ
ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย จะบังเกิดขึ้นก็ตาม,จะไม่บังเกิดขึ้นก็ตาม, ธรรมธาตุนั้น ย่อมตั้งอยู่แล้วนั่นเทียว;


[[สฬายตนะ]] จะดับไปได้เพราะ [[นามรูป]] (รูปขันธ์) ดับ
'''คือ ความตั้งอยู่แห่งธรรมดา (ธัมมัฏฐิตตา),'''


[[นามรูป]] จะดับไปได้เพราะ [[วิญญาณ]] (วิญญาณขันธ์) ดับ
'''คือ ความเป็นกฎตายตัวแห่งธรรมดา (ธัมมนิยามตา),'''


[[วิญญาณ]] จะดับไปได้เพราะ [[สังขาร]] (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณ-[[เจตสิก]]) ดับ
'''คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น (อิทัปปัจจยตา).'''


[[สังขาร]] จะดับไปได้เพราะ [[อวิชชา]] (ความไม่รู้อย่างแจ่มแจ้ง) ดับ
ตถาคต ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนั้น; ครั้นรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว, ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ;


== สมุทยวาร-นิโรธวาร ==
และได้กล่าวแล้วในบัดนี้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ! ท่านทั้งหลายจงมาดู : '''เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะย่อมมี'''” ดังนี้.
การแสดงหลักปฏิจจสมุปบาท เป็นการแสดงให้เห็น ความเกิดขึ้นแห่งธรรมต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยสืบทอดกันไปอย่างนี้ เป็น '''สมุทยวาร''' คือฝ่าย[[สมุทัย]] ใช้เป็นคำอธิบาย [[อริยสัจ]]ข้อที่สอง ([[สมุทัยสัจจ์]]) คือ แสดงให้เห็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์
ปฏิจสมุปบาทที่แสดงแบบนี้เรียกว่า '''อนุโลมปฏิจจสมุปบาท'''


(ดังแสดงสองตัวอย่างที่ผ่านไป เป็น อนุโลมเทศนา และ ปฏิโลมเทศนา ของอนุโลมปฏิจจสมุปบาท ตามลำดับ)
ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น อันเป็น '''ตถตา คือ ความเป็นอย่างนั้น''', เป็น '''อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็นอย่างนั้น''', เป็น '''อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น''',


การแสดงตรงกันข้ามกับข้างต้นนี้ เรียกว่า '''นิโรธวาร''' คือฝ่าย[[นิโรธ]] ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจข้อที่สาม ([[นิโรธสัจจ์]]) เรียกว่า '''ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท''' แสดงให้เห็นความดับไปแห่งทุกข์ ด้วยอาศัยความดับไปแห่งปัจจัยทั้งหลาย สืบทอดกันไป เช่น
เป็น '''อิทัปปัจจยตา คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น'''; ภิกษุทั้งหลาย ! '''ธรรมนี้เราเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท'''


เพราะอวิชชาสำรอกดับไปไม่เหลือสังขารจึงดับ เพราะสังขารดับวิญญาณจึงดับ ฯลฯ เพราะชาติ ดับชรามรณะ (จึงดับ) ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส ความคับแค้นใจ ก็ดับ
''<sup>*{๑}</sup> การละเปยยาล ...ฯลฯ... เช่นนี้ หมายความว่า ข้อความในข้อ (๒) เป็นต้นไปจนกระทั่งถึงข้อ (๑๐) นี้ ซ้ำกันโดยตลอดกับในข้อ (๑) ต่างกันแต่เพียงปัจจยาการแต่ละปัจจยาการเท่านั้น; สำหรับข้อสุดท้าย คือข้อ (๑๑) จะพิมพ์ไว้เต็มเหมือนข้อ (๑) อีกครั้งหนึ่ง.''


ดังนี้เรียกว่า อนุโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท
-บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๓๐/๖๑.<ref group="พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค หน้าที่ ๒๒ ข้อที่ ๖๑ ">http://etipitaka.com/reference/thaipb/5/162/?code=thai&volume=16&item=61</ref>{{พุทธศาสนา}}


ส่วนปฏิโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ก็พึงแสดงย้อนว่า ชรามรณะเป็นต้น ดับเพราะชาติดับ ชาติดับเพราะภพดับ ฯลฯ สังขารดับเพราะอวิชชาดับ
ภิกษุทั้งหลาย !  '''เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย'''; ( อวิชชา คือ ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในเหตุเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์ ความไม่รู้ในความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความไม่รู้ข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งทุกข์. )

* (๑๐) '''เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย   จึงมีวิญญาณ;'''
* (๙) '''เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย  จึงมีนามรูป;   '''
* (๘) '''เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย  จึงมีสฬายตนะ; '''
* (๗) '''เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ; '''
* (๖) '''เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย   จึงมีเวทนา;   '''
* (๕) '''เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย  จึงมีตัณหา; '''
* (๔) '''เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย  จึงมีอุปาทาน; '''
* (๓) '''เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย  จึงมีภพ;   '''
* (๒) '''เพราะมีภพเป็นปัจจัย  จึงมีชาติ;'''
* (๑) '''เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน''' '''ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.'''  

(๑) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ชรามรณะ เป็นอย่างไรเล่า ? ความแก่ ความคร่ำคร่า ความมีฟันหลุด ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยว ความสิ้นไปแห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า ชรา. การจุติ ความเคลื่อน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำกาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่งอินทรีย์ คือ ชีวิตจากสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า มรณะ'''. ชรานี้ด้วย มรณะนี้ด้วย ย่อมมีอยู่ ดังนี้; ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ชรามรณะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ; ความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งชาติ; มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

(๒) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ชาติ เป็นอย่างไรเล่า ? การเกิด การกำเนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การบังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การที่สัตว์ได้ซึ่งอายตนะทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ชาติ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ; ความดับไม่เหลือแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งภพ; ''...ฯลฯ...''

(๓) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ภพ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภพทั้งหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ภพ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอุปาทาน; ความดับไม่เหลือแห่งภพ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน; ''...ฯลฯ...''

(๔) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ตัณหา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งตัณหาทั้งหลาย ๖ หมู่ เหล่านี้ คือ ความอยากในรูป ความอยากในเสียง ...ในกลิ่น ...ในรส ...ในโผฏฐัพพะ (สัมผัสทางกาย) ความอยากในธรรมารมณ์ (สัมผัสทางใจ)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ตัณหา. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา; ความดับไม่เหลือแห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งเวทนา; .''..ฯลฯ...''

(๕) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''เวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งเวทนาทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ เวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก... ทางลิ้น ...ทางกาย และเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางใจ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า เวทนา. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ; ความดับไม่เหลือแห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ; .''..ฯลฯ...''

(๖) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''ผัสสะ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งผัสสะทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ สัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก ...ทางลิ้น ...ทางกาย สัมผัสทางใจ''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ผัสสะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ; ความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ; .''..ฯลฯ...''

(๗) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''สฬายตนะ เป็นอย่างไรเล่า ? จักข๎วายตนะ ( ตา+รูป ) โสตายตนะ (หู+เสียง) ฆานายตนะ (จมูก + กลิ่น) ชิวหายตนะ (ลิ้น + รส) กายายตนะ (กาย + โผฏฐัพพะ) มนายตนะ (ใจ + ธรรมารมณ์)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่าสฬายตนะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป; ความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป; .''..ฯลฯ...''

(๘) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''นามรูป เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ : นี้เรียกว่านาม. มหาภูตทั้งสี่ด้วย รูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย : นี้เรียกว่า รูป. นามนี้ด้วย รูปนี้ด้วย ย่อมมีอยู่อย่างนี้''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า นามรูป. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งวิญญาณ; ความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ; .''..ฯลฯ...''

(๙) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ?ภิกษุทั้งหลาย ! หมู่แห่งวิญญาณทั้งหลาย ๖ หมู่เหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางตา) โสตวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางหู) ฆานวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางจมูก) ชิวหาวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางลิ้น) กายวิญญาณ (สิ่งที่รู้แจ้งทางใจ) มโนวิญญาณ (สิ่งรู้แจ้งทางใจ)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า วิญญาณ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งวิญญาณ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งสังขาร; ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ ย่อมมีเพราะความดับไม่เหลือแห่งสังขาร; .''..ฯลฯ...''

(๑๐) ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ '''สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! สังขารทั้งหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คือ กายสังขาร (ความปรุงแต่งทางกาย) วจีสังขาร (ความปรุงแต่งทางวาจา) จิตตสังขาร (ความปรุงแต่งทางใจ)''' : ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอวิชชา; ความดับไม่เหลือแห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งอวิชชา; มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งสังขาร, ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.

ภิกษุทั้งหลาย ! '''ในกาลใดแล อริยสาวก ย่อมมารู้ทั่วถึงซึ่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย (เหตุ) ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; '''มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุแห่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; '''มารู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ; '''มารู้ทั่วถึงซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งธรรม''' อันเป็นปัจจัย ว่าเป็นอย่างนี้ๆ ดังนี้; ภิกษุทั้งหลาย ! ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนั้น ว่า :- '''“ผู้สมบูรณ์แล้วด้วยทิฏฐิ”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้สมบูรณ์แล้วด้วยทัสสนะ”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้มาถึงพระสัทธรรมนี้แล้ว”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ได้เห็นอยู่ซึ่งพระสัทธรรมนี้”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ประกอบแล้วด้วยญาณอันเป็นเสขะ”''' ดังนี้บ้าง;'''“ผู้ประกอบแล้วด้วยวิชชาอันเป็นเสขะ”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ถึงซึ่งกระแสแห่งธรรมแล้ว”''' ดังนี้บ้าง; '''“ผู้ประเสริฐมีปัญญาเครื่องชำแรกกิเลส”''' ดังนี้บ้าง;'''“ยืนอยู่จรดประตูแห่งอมตะ”''' ดังนี้บ้าง, ดังนี้ แล.

-บาลี  นิทาน. สํ. ๑๖/๕๐/๘๘.


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง)
* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".

* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ)
* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=1455&Z=1887 มหานิทานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐]

* [http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=16&A=590&Z=641 ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖]
http://etipitaka.com/
* [[พุทธทาส|พุทธทาสภิกขุ]]. "[http://www.pantip.com/~buddhadasa/self/self_index.html ตัวกู-ของกู ฉบับย่อความ]".
{{จบอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[[ปฏิจสมุปบาท]]
* [http://www.nkgen.com/ ปฏิจสมุปบาท]


[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:58, 23 ตุลาคม 2561

ปฏิจจสมุปบาท (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) (บาลี: Paticcasamuppāda; สันสกฤต: Pratītyasamutpāda) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ

การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา

หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา

ลำดับแห่งปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับทุกข์

ความทุกข์ จะดับไปได้เพราะ ชาติ (การเกิดอัตตา"ตัวตน"คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ

ชาติ จะดับไปได้เพราะ ภพ (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ

ภพ จะดับไปได้เพราะ อุปาทาน (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ

อุปาทาน จะดับไปได้เพราะ ตัณหา (ความอยาก) ดับ

ตัณหา จะดับไปได้เพราะ เวทนา (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ

เวทนา จะดับไปได้เพราะ ผัสสะ (การสัมผัส) ดับ

ผัสสะ จะดับไปได้เพราะ สฬายตนะ (อายตนะใน๖+นอก๖) ดับ

สฬายตนะ จะดับไปได้เพราะ นามรูป (รูปขันธ์) ดับ

นามรูป จะดับไปได้เพราะ วิญญาณ (วิญญาณขันธ์) ดับ

วิญญาณ จะดับไปได้เพราะ สังขาร (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณ-เจตสิก) ดับ

สังขาร จะดับไปได้เพราะ อวิชชา (ความไม่รู้อย่างแจ่มแจ้ง) ดับ

สมุทยวาร-นิโรธวาร

การแสดงหลักปฏิจจสมุปบาท เป็นการแสดงให้เห็น ความเกิดขึ้นแห่งธรรมต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยสืบทอดกันไปอย่างนี้ เป็น สมุทยวาร คือฝ่ายสมุทัย ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจข้อที่สอง (สมุทัยสัจจ์) คือ แสดงให้เห็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ปฏิจสมุปบาทที่แสดงแบบนี้เรียกว่า อนุโลมปฏิจจสมุปบาท

(ดังแสดงสองตัวอย่างที่ผ่านไป เป็น อนุโลมเทศนา และ ปฏิโลมเทศนา ของอนุโลมปฏิจจสมุปบาท ตามลำดับ)

การแสดงตรงกันข้ามกับข้างต้นนี้ เรียกว่า นิโรธวาร คือฝ่ายนิโรธ ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจข้อที่สาม (นิโรธสัจจ์) เรียกว่า ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท แสดงให้เห็นความดับไปแห่งทุกข์ ด้วยอาศัยความดับไปแห่งปัจจัยทั้งหลาย สืบทอดกันไป เช่น

เพราะอวิชชาสำรอกดับไปไม่เหลือสังขารจึงดับ เพราะสังขารดับวิญญาณจึงดับ ฯลฯ เพราะชาติ ดับชรามรณะ (จึงดับ) ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส ความคับแค้นใจ ก็ดับ

ดังนี้เรียกว่า อนุโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท

ส่วนปฏิโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ก็พึงแสดงย้อนว่า ชรามรณะเป็นต้น ดับเพราะชาติดับ ชาติดับเพราะภพดับ ฯลฯ สังขารดับเพราะอวิชชาดับ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น