การรุกเลนินกราด–นอฟโกรอด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การรุกเลนินกราด–นอฟโกรอด
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก ใน สงครามโลกครั้งที่สอง

Soviet machine-gunners near Detskoye Selo railway station in Pushkin, January 21
วันที่14 มกราคม – 1 มีนาคม 1944
สถานที่
ผล โซเวียตชนะ
การล้อมเลนินกราด ยุติลง
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
กองทัพโซเวียตยึดภูมิภาคคืนมา
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน  สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี เกออร์ก ฟอน คึชเลอร์
(ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์)
นาซีเยอรมนี วัลเทอร์ โมเดิล
(ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์)
สหภาพโซเวียต คีริลล์ เมเรตสคอฟ
สหภาพโซเวียต เลโอนิต โกโวลอฟ
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
Army Group North:
44 infantry divisions
[1]
Leningrad Front
Volkhov Front
2nd Baltic Front
Baltic Fleet:
57 divisions
กำลัง
500,000 men
2,389 artillery pieces
146 tanks
140 aircraft[1]
822,000 men
4,600 artillery pieces
550 tanks
653 aircraft[1]
ความสูญเสีย
24,739 dead and missing[2]
46,912 wounded[2]
Total: 71,651 casualties (per German military medical reports)[2]
76,686 dead and missing,
237,267 wounded[3]
Total: 313,953 casualties[3]

การรุกทางยุทธศาสตร์เลนินกราด–นอฟโกรอด เป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การรุกเริ่มโดยกองทัพแดงในวันที่ 14 มกราคม 1944 โดยโจมตีกลุ่มกองทัพเยอรมันเหนือ โดยแนวรบวอลฮอฟ และ แนวรบเลนินกราดของโซเวียต และบางส่วนจากแนวรบบอลติกที่ 2[4] โดยมีเป้าหมายหลักคือยุดิการล้อมเลนินกราด ประมาณ 2 สัปดาห์ต่อมา กองทัพแดงสามารถควบคุมทางรถไฟมอสโก-เลนินกราดคืนมาได้ และในวันที่ 26 มกราคม 1944 โจเซฟ สตาลิน ประกาศว่าการล้อมเลนินกราดได้ยุติลงแล้ว และกองกำลังเยอรมันได้ถอยออกจากแคว้นเลนินกราด[5] มีการเฉลิมฉลองการยุดิการล้อมเลนินกราดที่กินเวลา 900 วันที่เลนินกราด ด้วยการยิงปืนใหญ่สลุต 324 นัด[4] การรุกทางยุทธศาสตร์จบลงในวันที่ 1 มีนาคม เมื่อกองบัญชาการสามัญของสหภาพโซเวียต (Stavka) สั่งให้กองกำลังในแนวรบเลนินกราดไปปฏิบัติงานข้ามแม่น้ำนาร์วา ขณะที่แนวรบบอลติกที่ 2 กำลังปกป้องดินแดนที่ได้ยึดครองจากการบุกคืนของกองทัพน้อยที่ 16 ของเยอรมัน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 Glantz p. 329
  2. 2.0 2.1 2.2 1944 เก็บถาวร 2012-10-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. 3.0 3.1 David M. Glantz, Jonathan House: When Titans Clashed. How the Red Army Stopped Hitler. University of Kansas Press, Lawrence 1995, p. 298.
  4. 4.0 4.1 "Siege of Leningrad". Second World War History Online. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-07. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2554. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. Krivosheev, Grigori et al., p. 315

บรรณานุกรม[แก้]

  • Salisbury, Harrison Evans (1969), The 900 Days: The Siege of Leningrad, Da Capo Press, ISBN 0-306-81298-3
  • Гречанюк, Н. М.; Дмитриев, В. И.; Корниенко, А.И. (1990), Дважды, Краснознаменный Балтийский Флот (Baltic Fleet), Воениздат
  • Кривошеева, Григорий; Андроников, Владимер (2010-03-25). Россия и СССР в войнах XX века: Книга Потерь. Буриков, Петр. Moscow, Russia: Вече.
  • Glantz, David M. (2002). The Battle for Leningrad 1941–1944. Kansas University Press. ISBN 0-7006-1208-4.