วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 2017
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1990
จำนวนทีม32 ทีม
ทวีประหว่างประเทศ (FIVB)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย (1สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติบราซิล บราซิล (9 สมัย)

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก (อังกฤษ: FIVB Volleyball World League) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติสำหรับผู้ชาย การแข่งขันเริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1990 จัดการแข่งขันโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) การแข่งขันจะจัดเป็นประจำทุกปี การแข่งขันสำหรับผู้หญิงเรียกว่าเวิลด์กรังด์ปรีซ์ จะได้ไม่สับสนกับการแข่งขันชิงแชมป์โลก, เวิลด์คัพ และเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

ในปี ค.ศ. 2018 เวิลด์ลีกถูกแทนที่โดยรายการใหม่ ในชื่อ วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก[1][2]

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

บราซิลและอิตาลี เป็นสองทีมที่เข้าร่วมในการแข่งขันทุกครั้งของวอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

  ทีมในดิวิชัน 1
  ทีมในดิวิชัน 2
  ทีมในดิวิชัน 3
  ทีมที่ไม่ได้เข้าร่วมในเวิลด์ลีก
ทีม รอบคัดเลือก รอบสุดท้าย
จำนวน ครั้งแรก ครั้งล่าสุด จำนวน ครั้งแรก ครั้งล่าสุด
ธงชาติบราซิล บราซิล 28 1990 2017 24 1990 2016
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 28 1990 2017 22 1990 2016
ธงชาติคิวบา คิวบา 26 1991 2016 15 1991 2012
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย[N 1] 26 1990 2017 21 1990 2014
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 24 1990 2017 1 2008 2008
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 22 1990 2017 6 2001 2016
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 21 1990 2017 10 1990 2002
ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 20 1994 2017 10 1994 2013
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 20 1998 2017 9 2001 2016
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย[N 2] 20 1997 2017 12 2000 2016
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 20 1990 2017 10 1992 2016
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 19 1996 2017 5 1999 2013
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 19 1991 2017 1 1995 1995
ธงชาติจีน จีน 18 1990 2017 1 1996 1996
ธงชาติสเปน สเปน 15 1995 2017 3 1999 2003
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 14 1999 2017
ธงชาติฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 13 1993 2017
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 13 1992 2017 1 2012 2012
ธงชาติกรีซ กรีซ 13 1993 2017 1 2003 2003
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 11 1991 2017 1 2013 2013
ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 9 2001 2017
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 7 2006 2017
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 5 1999 2017 1 2014 2014
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย 5 2003 2017 1 2003 2003
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 5 2013 2017 1 2014 2014
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 4 2014 2017
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 4 2014 2017
ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 4 2011 2016
ธงชาติสโลวาเกีย สโลวาเกีย 4 2014 2017
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 4 2014 2017
ธงชาติตุรกี ตุรกี 4 2014 2017
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 3 2015 2017
ธงชาติมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 3 2015 2017
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 2 2016 2017
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 2 2016 2017
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 2 2016 2017
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย 1 2017 2017
ธงชาติเอสโตเนีย เอสโตเนีย 1 2017 2017

สรุปการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
IR / FR
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1990
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โอซะกะ

อิตาลี
3–0
เนเธอร์แลนด์

บราซิล
3–1
สหภาพโซเวียต
8 / 4
1991
รายละเอียด
อิตาลี
มิลาน

อิตาลี
3–0
คิวบา

สหภาพโซเวียต
3–1
เนเธอร์แลนด์
10 / 4
1992
รายละเอียด
อิตาลี
เจนัว

อิตาลี
3–1
คิวบา

สหรัฐ
3–1
เนเธอร์แลนด์
12 / 4
1993
รายละเอียด
บราซิล
เซาเปาลู

บราซิล
3–0
รัสเซีย

อิตาลี
3–0
คิวบา
12 / 4
1994
รายละเอียด
อิตาลี
Milan

อิตาลี
3–0
คิวบา

บราซิล
3–2
บัลแกเรีย
12 / 6
1995
รายละเอียด
บราซิล
รีโอเดจาเนโร

อิตาลี
3–1
บราซิล

คิวบา
3–2
รัสเซีย
12 / 6
1996
รายละเอียด
เนเธอร์แลนด์
รอตเทอร์ดาม

เนเธอร์แลนด์
3–2
อิตาลี

รัสเซีย
3–2
คิวบา
11 / 6
1997
รายละเอียด
รัสเซีย
มอสโก

อิตาลี
3–0
คิวบา

รัสเซีย
3–0
เนเธอร์แลนด์
12 / 6
1998
รายละเอียด
อิตาลี
มิลาน

คิวบา
พบกันหมด
รัสเซีย

เนเธอร์แลนด์
พบกันหมด
อิตาลี
12 / 4
1999
รายละเอียด
อาร์เจนตินา
มาร์เดลปลาตา

อิตาลี
3–1
คิวบา

บราซิล
3–1
รัสเซีย
12 / 6
2000
รายละเอียด
เนเธอร์แลนด์
รอตเทอร์ดาม

อิตาลี
3–2
รัสเซีย

บราซิล
3–0
ยูโกสลาเวีย
12 / 6
2001
รายละเอียด
โปแลนด์
คาโตวีตเซ

บราซิล
3–0
อิตาลี

รัสเซีย
3–0
ยูโกสลาเวีย
16 / 8
2002
รายละเอียด
บราซิล
เบโลโอรีซอนชี

รัสเซีย
3–1
บราซิล

ยูโกสลาเวีย
3–1
อิตาลี
16 / 8
2003
รายละเอียด
สเปน
มาดริด

บราซิล
3–2
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

อิตาลี
3–1
เช็กเกีย
16 / 8
2004
รายละเอียด
อิตาลี
โรม

บราซิล
3–1
อิตาลี

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
3–0
บัลแกเรีย
12 / 4
2005
รายละเอียด
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
เบลเกรด

บราซิล
3–1
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

คิวบา
3–2
โปแลนด์
12 / 4
2006
รายละเอียด
รัสเซีย
มอสโก

บราซิล
3–2
ฝรั่งเศส

รัสเซีย
3–0
บัลแกเรีย
16 / 6
2007
รายละเอียด
โปแลนด์
คาโตวีตเซ

บราซิล
3–1
รัสเซีย

สหรัฐ
3–1
โปแลนด์
16 / 6
2008
รายละเอียด
บราซิล
รีโอเดจาเนโร

สหรัฐ
3–1
เซอร์เบีย

รัสเซีย
3–1
บราซิล
16 / 6
2009
รายละเอียด
เซอร์เบีย
เบลเกรด

บราซิล
3–2
เซอร์เบีย

รัสเซีย
3–0
คิวบา
16 / 6
2010
รายละเอียด
อาร์เจนตินา
กอร์โดบา

บราซิล
3–1
รัสเซีย

เซอร์เบีย
3–2
คิวบา
16 / 6
2011
รายละเอียด
โปแลนด์
กดัญสก์

รัสเซีย
3–2
บราซิล

โปแลนด์
3–0
อาร์เจนตินา
16 / 8
2012
รายละเอียด
บัลแกเรีย
โซเฟีย

โปแลนด์
3–0
สหรัฐ

คิวบา
3–2
บัลแกเรีย
16 / 6
2013
รายละเอียด
อาร์เจนตินา
มาร์เดลปลาตา

รัสเซีย
3–0
บราซิล

อิตาลี
3–2
บัลแกเรีย
18 / 6
2014
รายละเอียด
อิตาลี
ฟลอเรนซ์

สหรัฐ
3–1
บราซิล

อิตาลี
3–0
อิหร่าน
28 / 6
2015
รายละเอียด
บราซิล
ริโอเดอจาเนโร

ฝรั่งเศส
3–0
เซอร์เบีย

สหรัฐ
3–0
โปแลนด์
32 / 6
2016
รายละเอียด
โปแลนด์
กรากุฟ

เซอร์เบีย
3–0
บราซิล

ฝรั่งเศส
3–0
อิตาลี
36 / 6
2017
รายละเอียด
บราซิล
กูรีตีบา

ฝรั่งเศส
3–2
บราซิล

แคนาดา
3–1
สหรัฐ
36 / 6

สรุปเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 9 7 4 20
2 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 8 3 4 15
3 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย[N 3] 3 5 7 15
4 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 2 1 3 6
5 ธงชาติคิวบา คิวบา 1 5 3 9
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย[N 4] 1 5 3 9
7 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2 1 1 4
8 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1 1 1 3
9 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 1 0 1 2
10 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 0 0 1 1
รวม 28 28 28 84

ผู้เล่นทรงคุณค่า[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. รัสเซียได้รวมเข้ากับ ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต และ ธงชาติเครือรัฐเอกราช เครือรัฐเอกราช
  2. เซอร์เบียได้รวมเข้ากับ ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย และ ธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
  3. เอฟไอวีบี พิจารณาให้รัสเซีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1993) เป็นผู้รับช่วงต่อจาก ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (ตั้งแต่ ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991) และ ธงชาติเครือรัฐเอกราช เครือรัฐเอกราช (ค.ศ. 1992)
  4. เอฟไอวีบี พิจารณาให้เซอร์เบีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007) เป็นผู้รับช่วงต่อจาก ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991), ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1992 – ค.ศ. 2002) และ ธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ค.ศ. 2003 – ค.ศ. 2006).

อ้างอิง[แก้]

  1. FIVB drastically changes format for 2018 World League and Grand Prix - World of Volley, 19 June 2017
  2. "FIVB announces the Volleyball Nations League". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-20. สืบค้นเมื่อ 2017-10-16.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]