ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์นอร์เซกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์นอร์เซกา
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์นอร์เซกา 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1969
จำนวนทีม12 (รอบสุดท้าย)
ทวีปทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (นอร์เซกา)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (10 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติคิวบา คิวบา (16 สมัย)

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์นอร์เซกา (อังกฤษ: NORCECA Men's Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลชายระดับทีมชาติชุดใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (นอร์เซกา) เริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1969 โดยจัดทุก ๆ 2 ปี สำหรับแชมป์ส่วนใหญ่จะเป็นของทีมชาติคิวบา และทีมชาติสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับรางวัลร่วมกันทั้งหมด 23 ครั้ง จาก 24 ครั้งของการแข่งขัน

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 ทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1969
รายละเอียด
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี

คิวบา
3–1
เม็กซิโก

สหรัฐ
3–0
แคนาดา
8
1971
รายละเอียด
คิวบา
ฮาวานา

คิวบา
พบกันหมด
สหรัฐ

เม็กซิโก
พบกันหมด
ปวยร์โตรีโก
5
1973
รายละเอียด
เม็กซิโก
ติฆัวนา

สหรัฐ
3–0
คิวบา

แคนาดา
3–1
ปวยร์โตรีโก
7
1975
รายละเอียด
สหรัฐ
ลอสแอนเจลิส

คิวบา
พบกันหมด
เม็กซิโก

สหรัฐ
พบกันหมด
แคนาดา
5
1977
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานโตโดมิงโก

คิวบา
3–0
เม็กซิโก

สหรัฐ
3–1
ปวยร์โตรีโก
9
1979
รายละเอียด
คิวบา
ฮาวานา

คิวบา
พบกันหมด
แคนาดา

เม็กซิโก
พบกันหมด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
7
1981
รายละเอียด
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี

คิวบา
3–2
สหรัฐ

แคนาดา
3–1
เม็กซิโก
10
1983
รายละเอียด
สหรัฐ
อินเดียแนโพลิส

สหรัฐ
พบกันหมด
แคนาดา

คิวบา
พบกันหมด
เม็กซิโก
6
1985
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานติเอโก

สหรัฐ
3–1
คิวบา

แคนาดา
3–?
สาธารณรัฐโดมินิกัน
11
1987
รายละเอียด
คิวบา
ฮาวานา

คิวบา
3–2
สหรัฐ

แคนาดา
3–?
สาธารณรัฐโดมินิกัน
10
1989
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
ซานฮวน

คิวบา
3–0
แคนาดา

สหรัฐ
3–0
ปวยร์โตรีโก
12
1991
รายละเอียด
แคนาดา
ริไจนา

คิวบา
3–2
สหรัฐ

แคนาดา
3–?
เม็กซิโก
9
1993
รายละเอียด
สหรัฐ
นิวออร์ลีนส์

คิวบา
3–1
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
ปวยร์โตรีโก
6
1995
รายละเอียด
แคนาดา
เอดมันตัน

คิวบา
3–0
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
ปวยร์โตรีโก
7
1997
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
กากวาส / ซานฮวน

คิวบา
3–0
สหรัฐ

แคนาดา
3–1
เม็กซิโก
8
1999
รายละเอียด
เม็กซิโก
มอนเตร์เรย์

สหรัฐ
3–1
คิวบา

แคนาดา
3–2
เม็กซิโก
8
2001
รายละเอียด
บาร์เบโดส
บริดจ์ทาวน์

คิวบา
3–0
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน
7
2003
รายละเอียด
เม็กซิโก
กูเลียกัน

สหรัฐ
3–1
แคนาดา

คิวบา
3–0
เม็กซิโก
7
2005
รายละเอียด
แคนาดา
วินนิเพก

สหรัฐ
3–1
คิวบา

แคนาดา
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน
8
2007
รายละเอียด
สหรัฐ
แอนาไฮม์

สหรัฐ
3–1
ปวยร์โตรีโก

คิวบา
3–0
แคนาดา
8
2009
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
บายามอน

คิวบา
3–1
สหรัฐ

ปวยร์โตรีโก
3–2
สาธารณรัฐโดมินิกัน
8
2011
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
มายากุซ

คิวบา
3–2
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
ปวยร์โตรีโก
8
2013
รายละเอียด
แคนาดา
แลงลีย์

สหรัฐ
3–0
แคนาดา

คิวบา
3–2
ปวยร์โตรีโก
9
2015
รายละเอียด
เม็กซิโก
กอร์โดวา

แคนาดา
3–1
คิวบา

ปวยร์โตรีโก
3–0
เม็กซิโก
7
2017
รายละเอียด
สหรัฐ
โคโลราโดสปริงส์

สหรัฐ
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน

แคนาดา
3–1
เม็กซิโก
10
2019
รายละเอียด
แคนาดา
วินนิเพก

คิวบา
3–1
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
เม็กซิโก
7
2021
รายละเอียด
เม็กซิโก
ดูรังโกซิตี

ปวยร์โตรีโก
3–0
แคนาดา

เม็กซิโก
3–1
คิวบา
8
2023
รายละเอียด
สหรัฐ
ชาร์ลสตัน

สหรัฐ
3–0
แคนาดา

คิวบา
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน
7

ตารางเหรียญการแข่งขัน

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1ธงชาติคิวบา คิวบา165526
2ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ1011425
3ธงชาติแคนาดา แคนาดา171422
4ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก1124
5ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก0336
6ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน0101
รวม (6 ประเทศ)28282884

ผู้เล่นทรงคุณค่า

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]