วอลเลย์บอลชายทีมชาติเนเธอร์แลนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนเธอร์แลนด์
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลเนเธอร์แลนด์
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
อันดับเอฟไอวีบี15 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
www.volleybal.nl (ดัตช์)
วอลเลย์บอลชายทีมชาติเนเธอร์แลนด์
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1996 แอตแลนตา ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1992 บาร์เซโลนา ทีม
ชิงแชมป์โลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1994 กรีซ ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1995 ญี่ปุ่น ทีม
เวิลด์ลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1996 รอตเทอร์ดาม ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1990 โอซะกะ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1998 มิลาน ทีม
ชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1997 ไอนด์โฮเวน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1993 ตุรกุ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1995 เอเธนส์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1989 สต็อกโฮล์ม ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1991 เบอร์ลิน ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติเนเธอร์แลนด์ (ดัตช์: Nederlandse herenvolleybalteam) เป็นทีมวอลเลย์บอลชายของประเทศเนเธอร์แลนด์ ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเนเธอร์แลนด์ และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

ทีมนี้เคยได้รับเหรียญทองจากแข่งขันวอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ที่ แอตแลนตา และ วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก 1996 ที่ รอตเทอร์ดาม[1]

รางวัล[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1964 8
เกาหลีใต้ 1988 5
สเปน 1992 2
สหรัฐ 1996 1
ออสเตรเลีย 2000 5
กรีซ 2004 9
จีน 2008 ไม่ผ่านการคัดเลือก
สหราชอาณาจักร 2012
บราซิล 2016

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

ปี อันดับ
เชโกสโลวาเกีย 1949 10
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ฝรั่งเศส 1956 13
บราซิล 1960 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
สหภาพโซเวียต 1962 12
เชโกสโลวาเกีย 1966 12
บัลแกเรีย 1970 14
เม็กซิโก 1974 11
อิตาลี 1978 16
อาร์เจนตินา 1982 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ฝรั่งเศส 1986
บราซิล 1990 7
กรีซ 1994 2
ญี่ปุ่น 1998 6
อาร์เจนตินา 2002 9
ญี่ปุ่น 2006 ไม่ผ่านการคัดเลือก
อิตาลี 2010
โปแลนด์ 2014

เวิลด์คัพ[แก้]

ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1965 10
ญี่ปุ่น 1995 2

เวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]

ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1993 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ญี่ปุ่น 1997 2
ญี่ปุ่น 2001 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ญี่ปุ่น 2005
ญี่ปุ่น 2009
ญี่ปุ่น 2013

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก[แก้]

ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1990 2
อิตาลี 1991 4
อิตาลี 1992 4
บราซิล 1993 5
อิตาลี 1994 5
บราซิล 1995 12
เนเธอร์แลนด์ 1996 1
รัสเซีย 1997 4
อิตาลี 1998 3
อาร์เจนตินา 1999 10
ปี อันดับ
เนเธอร์แลนด์ 2000 5
โปแลนด์ 2001 7
บราซิล 2002 7
สเปน 2003 10
อิตาลี 2004 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005
รัสเซีย 2006
โปแลนด์ 2007
บราซิล 2008
เซอร์เบีย 2009 12
ปี อันดับ
อาร์เจนตินา 2010 11
โปแลนด์ 2011 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
บัลแกเรีย 2012
อาร์เจนตินา 2013 14
อิตาลี 2014 12
บราซิล 2015 13

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป[แก้]

ปี อันดับ
อิตาลี 1948 6
ฝรั่งเศส 1951 9
เชโกสโลวาเกีย 1958 13
โรมาเนีย 1963 12
ตุรกี 1967 15
อิตาลี 1971 9
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 9
ฟินแลนด์ 1977 12
เยอรมนีตะวันออก 1983 10
เนเธอร์แลนด์ 1985 10
ปี อันดับ
เบลเยียม 1987 5
สวีเดน 1989 3
เยอรมนี 1991 3
ฟินแลนด์ 1993 2
กรีซ 1995 2
เนเธอร์แลนด์ 1997 1
ออสเตรีย 1999 5
เช็กเกีย 2001 8
เยอรมนี 2003 6
อิตาลี 2005 11
ปี อันดับ
รัสเซีย 2007 7
ตุรกี 2009 7
ออสเตรีย/เช็กเกีย 2011 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
เดนมาร์ก/โปแลนด์ 2013 10
บัลแกเรีย/อิตาลี 2015 9

วอลเลย์บอลยูโรเปียนลีก[แก้]

ปี อันดับ
เช็กเกีย 2004 3
รัสเซีย 2005 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ตุรกี 2006 1
โปรตุเกส 2007 7
ตุรกี 2008 2
โปรตุเกส 2009 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
สเปน 2010
สโลวาเกีย 2011 5
ตุรกี 2012 1

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]