วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง2015
ฤดูกาลแรก2015 (ทีมชาย)
2015 (ทีมหญิง)
จำนวนทีม16 ทีม
สำนักงานใหญ่กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย
ทวีปเอเชีย และโอเชียเนีย (เอวีซี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติจีนไทเป จีนไทเป (1 ครั้ง)
(2017)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (2 ครั้ง)
หุ้นส่วนโทรทัศน์SMMTV
เว็บไซต์https://asianvolleyball.net/new/

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี (อังกฤษ: Asian U23 Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลสำหรับทีมชาติที่อายุไม่เกิน 23 ปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย เพื่อคัดเลือกทีมจากทวีปเอเชีย เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี และวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี

ทีมชาย[แก้]

สรุปการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
2015
รายละเอียด
ประเทศพม่า
เนปยีดอ

อิหร่าน
3–1
เกาหลีใต้

จีนไทเป
3–1
จีน
2017
รายละเอียด
อิหร่าน
อาร์เดบิล

อิหร่าน
3–0
ญี่ปุ่น

จีนไทเป
3–1
ไทย
2019
รายละเอียด
ประเทศพม่า
เนปยีดอ

จีนไทเป
3–0
อินเดีย

ญี่ปุ่น
3–0
ปากีสถาน

ตารางเหรียญการแข่งขัน[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 2 0 0 2
2 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1 0 2 3
3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 0 1 1 2
4 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 0 1 0 1
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 0 1 0 1
รวม 3 3 3 9

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ประเทศ ประเทศพม่า
2015
อิหร่าน
2017
ประเทศพม่า
2019
จำนวน
ครั้ง
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 10th 11th 7th 3
ธงชาติจีน จีน 4th 5th 6th 3
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 3rd 3rd 1st 3
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 8th 2nd 2
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 9th 1
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 1st 1st 3
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 6th 2nd 3rd 3
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 13th 7th 5th 3
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 8th 1
Flag of the Maldives มัลดีฟส์ 16th 1
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 5th 10th 2
ธงชาติปากีสถาน ปากีสถาน 6th 4th 2
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 14th 1
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 11th 13th 2
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 12th 15th 2
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2nd 1
ธงชาติศรีลังกา ศรีลังกา 10th 8th 2
ธงชาติไทย ไทย 7th 4th 11th 3
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 9th 1
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 15th 9th 2
รวม 16 11 16

ทีมหญิง[แก้]

สรุปการแข่งขัน[แก้]

ตารางเหรียญการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
2015
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
ปาไซ

จีน
3–1
ไทย

เกาหลีใต้
3–0
ญี่ปุ่น
2017
รายละเอียด
ไทย
นครราชสีมา

ญี่ปุ่น
3–2
ไทย

เวียดนาม
3–0
จีนไทเป
2019
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

จีน
3–0
เกาหลีเหนือ

เวียดนาม
3–1
ไทย
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงชาติจีน จีน 1 0 0 1
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 0 0 1
3 ธงชาติไทย ไทย 0 2 0 2
4 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 0 0 1 1
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 0 0 1 1
รวม 2 2 2 6

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ประเทศ ฟิลิปปินส์
2015
ไทย
2017
เวียดนาม
2019
จำนวน
ครั้ง
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 10th 9th 2
ธงชาติจีน จีน 1st 1st 2
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 5th 4th 5th 3
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 6th 7th 2
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 6th 10th 2
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 8th 8th 2
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4th 1st 2
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 9th 5th 6th 3
ธงชาติมาเก๊า มาเก๊า 11th 13th 11th 3
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 7th 1
Flag of the Maldives มัลดีฟส์ 12th 12th 2
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 11thh 8th 2
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 7th 1
ธงชาติศรีลังกา ศรีลังกา 12th 13th 2
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3rd 1
ธงชาติไทย ไทย 2nd 2nd 4th 3
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 10th 9th 2
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3rd 3rd 2
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 2nd 1
รวม 12 13 13

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]