ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก 2022
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1991
ฤดูกาลแรก1991
จำนวนทีม6 ทีม
ประเทศสมาชิกเอฟไอวีบี
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอิตาลี อีโมโกวอลเลย์โกเนลยาโน (2 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล (4 สมัย)
หุ้นส่วนสตรีมมิงVolleyball TV (ตั้งแต่ ค.ศ. 2018)
เว็บไซต์Volleyball Club World Championship

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's Club World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงระดับนานาชาติ อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) การแข่งขันจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1991 ที่ ประเทศบราซิล และไม่ได้จัดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1995 ถึง ค.ศ. 2009 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 การแข่งขันที่ได้รับการจัดขึ้นทุกปี โดยมีประเทศกาตาร์, สวิตเซอร์แลนด์, ฟิลิปปินส์, จีน, ญี่ปุ่น และตุรกีได้หน้าที่เป็นเจ้าภาพ

รูปแบบการแข่งขันในปัจจุบันมีทั้งหมด 6 ทีม ซึ่งทีมที่เข้าร่วมเป็นตัวแทนของ สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้ (อเมริกาใต้) สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ยุโรป) สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (เอเชีย) ทีมเจ้าภาพ และทีมที่ได้รับเชิญจากเอฟไอวีบีโดยตรง

แชมป์ปัจจุบันเป็นของอีโมโกวอลเลย์โกเนลยาโน จากประเทศอิตาลี ในรอบชิงชนะเลิศอีโมโกวอลเลย์โกเนลยาโน ชนะวาคึฟบังค์อิสตันบูล 3–1 เซ็ต

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1991
รายละเอียด
บราซิล
เซาเปาลู
บราซิล
ซาจีอาเซาเปาลู
3–? บราซิล
เซากาเอตานู
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
มลาดอสต์ ซาเกร็บ
3–? อิตาลี
โมเดนา
8
1992
รายละเอียด
อิตาลี
เจซี
อิตาลี
เตโอโดราราเวนนา
3–? บราซิล
มีนัสเตนิสกลูบี
รัสเซีย
อูรารอชกา เยคาเตรินบุร์ก
3–? อิตาลี
บรุมเมลอันโกนา
8
1994
รายละเอียด
บราซิล
เซาเปาลู
บราซิล
เลย์ตีโมซาโซโรกาบา
3–? อิตาลี
มาเตรา
บราซิล
โอซัสโก
3–? รัสเซีย
อูรารอชกา เยคาเตรินบุร์ก
6
2010
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
ตุรกี
เฟแนร์บาห์แช
3–0 บราซิล
โอซัสโก
อิตาลี
แบร์กาโม
3–1 สาธารณรัฐโดมินิกัน
มีราดอร์
6
2011
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
อาเซอร์ไบจาน
ราบิตา บากู
3–0 ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
บราซิล
โอซัสโก
3–0 สาธารณรัฐโดมินิกัน
มีราดอร์
6
2012
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์
โดฮา
บราซิล
โอซัสโก
3–0 อาเซอร์ไบจาน
ราบิตา บากู
ตุรกี
เฟแนร์บาห์แช
3–0 ปวยร์โตรีโก
ลันเชรัสเดกาตาโญ
6
2013
รายละเอียด
สวิตเซอร์แลนด์
ซูริก
ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
3–0 บราซิล
รีอูจีฌาเนย์รู
จีน
กวางตุ้งเอเวอร์แกรนด์
3–1 สวิตเซอร์แลนด์
วอลเลโรซูริก
6
2014
รายละเอียด
สวิตเซอร์แลนด์
ซูริก
รัสเซีย
ไดนาโมคาซาน
3–0 บราซิล
โอซัสโก
บราซิล
เซซีเซาเปาลู
3–0 สวิตเซอร์แลนด์
วอลเลโรซูริก
6
2015
รายละเอียด
สวิตเซอร์แลนด์
ซูริก
ตุรกี
เอจซาจือบาซือ วีตรา
3–1 รัสเซีย
ดีนาโมครัสโนดาร์
สวิตเซอร์แลนด์
วอลเลโรซูริก
3–2 บราซิล
รีอูจีฌาเนย์รู
6
2016
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
ปาไซ
ตุรกี
เอจซาจือบาซือ วีตรา
3–2 อิตาลี
โปมิ กาซัลมัจจีโอเร
ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
3–1 สวิตเซอร์แลนด์
โวเลโรซือริช
8
2017
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โคเบะ
ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
3–0 บราซิล
เรโซนา-เซซ รีอู
สวิตเซอร์แลนด์
โวเลโรซือริช
3–2 ตุรกี
เอจซาจือบาซือ วีตรา
8
2018
รายละเอียด
จีน
เจ้อเจียง
ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
3–0 บราซิล
มีนัสเตนิสคลูบี
ตุรกี
เอจซาจือบาซือ วีตรา
3–1 บราซิล
เดนทิล/ไปรอา คลับ
8
2019
รายละเอียด
จีน
เจ้อเจียง
อิตาลี

อีโมโกวอลเลย์โกเนลยาโน

3-1 ตุรกี
เอจซาจือบาซือ วีตรา
ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
3-0 อิตาลี
อิกอร์ โนวาร่า
8
2020
รายละเอียด
ถูกยกเลิกเนื่องจากการระบาดของ COVID-19
2021
รายละเอียด
ตุรกี
อังการา
ตุรกี

วาคึฟบังค์ อิสตันบูล

3-2 อิตาลี
อีโมโกวอลเลย์โกเนลยาโน
ตุรกี
เฟแนร์บาห์แชโอเปตอิสตันบูล
3-0 บราซิล
มีนัสเตนิสคลูบี
6
2022
รายละเอียด
ตุรกี
อันตัลยา
อิตาลี

อีโมโกวอลเลย์โกเนลยาโน

3-1 ตุรกี
วาคึฟบังค์อิสตันบูล
ตุรกี
เอจซาจือบาซือไดนาวิต
3-1 บราซิล
มีนัสเตนิสคลูบี
6
2023
รายละเอียด
จีน
ฉางชา

สรุปผลการแข่งขันแบ่งตามสมาพันธ์

[แก้]
สมาพันธ์ ชนะเลิศ อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 4
สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป 11 7 9 8
สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้ 3 7 3 3
สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย 1
สมาพันธ์วอลเลย์บอลนอร์เซกา 3
สมาพันธ์วอลเลย์บอลแอฟริกา
รวม 14 14 14 14

สรุปเหรียญการแข่งขัน

[แก้]

ตารางเหรียญแบ่งตามสโมสร

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล 3 1 1 5
2 ตุรกี เอจซาซีบาซีวิตรา 2 1 1 4
2 บราซิล โอซาสกู 1 2 2 5
4 อาเซอร์ไบจาน ราบิตา บากู 1 1 0 2
5 ตุรกี เฟแนร์บาห์แช 1 0 1 2
6 รัสเซีย ดีนาโมคาซาน 1 0 0 1
บราซิล เลย์ตีโมซาโซโรกาบา 1 0 0 1
อิตาลี เตโอโดราราเวนนา 1 0 0 1
บราซิล ซาจีอาเซาเปาลู 1 0 0 1
อิตาลี อีโมโกวอลเลย์ 1 0 0 1
10 รัสเซีย ดีนาโมครัสโนดาร์ 0 1 0 1
อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร 0 1 0 1
บราซิล รีอูจีฌาเนย์รู 0 2 0 2
อิตาลี มาเตรา 0 1 0 1
บราซิล มีนัสเตนิสกลูบี 0 2 0 2
บราซิล ซาจีอาเซาเปาลู 0 1 0 1
16 สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช 0 0 2 2
17 บราซิล เซซีเซาเปาลู 0 0 1 1
จีน กวางตุ้งเอเวอร์แกรนด์ 0 0 1 1
อิตาลี แบร์กาโม 0 0 1 1
รัสเซีย อูรารอชกา เยคาเตรินบุร์ก 0 0 1 1
เซอร์เบีย มลาดอสต์ ซาเกร็บ[A] 0 0 1 1
รวม 12 12 12 36

ตารางเหรียญแบ่งตามประเทศ

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงของประเทศตุรกี ตุรกี 6 2 4 12
2 ธงของประเทศบราซิล บราซิล 3 7 3 13
3 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 2 2 1 5
4 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1 1 1 3
5 ธงของประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 1 1 0 2
6 ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 0 0 2 2
7 ธงของประเทศจีน จีน 0 0 1 1
ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย[A] 0 0 1 1
รวม 13 13 13 39

ผู้เล่นทรงคุณค่า

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 เอฟไอวีบี พิจารณาให้ประเทศเซอร์เบีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007) รับช่วงต่อจากสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991), สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1992 – ค.ศ. 2002) และเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ค.ศ. 2003 – ค.ศ. 2006)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]