วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก
การแข่งขันหรือฤดูกาลปัจจุบัน:![]() | |
กีฬา | วอลเลย์บอล |
---|---|
ก่อตั้ง | 1952 |
ฤดูกาลแรก | 1952 |
ซีอีโอ | ![]() |
จำนวนทีม | 24 (Finals) |
ทวีป | ระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ![]() |
ทีมชนะเลิศสูงสุด | ![]() |
เว็บไซต์ | FIVB Volleyball World Championships |
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในร่มระดับนานาชาติของประเภททีมหญิง
สรุปการแข่งขัน[แก้]
เจ้าภาพ[แก้]
รายชื่อเจ้าภาพแบ่งตามจำนวนการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันชิงแชมป์โลก
เจ้าภาพ | ทีมที่เป็นเจ้าภาพ (ค.ศ.) |
---|---|
5 | ![]() |
3 | ![]() |
2 | ![]() |
1 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
- * = เจ้าภาพร่วม
ตารางเหรียญการแข่งขัน[แก้]
อันดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
7 | 2 | 4 | 13 |
2 | ![]() |
3 | 3 | 1 | 7 |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 4 |
4 | ![]() |
2 | 3 | 0 | 5 |
5 | ![]() |
2 | 0 | 1 | 2 |
6 | ![]() |
1 | 2 | 2 | 5 |
7 | ![]() |
1 | 0 | 1 | 1 |
8 | ![]() |
0 | 4 | 1 | 4 |
9 | ![]() |
0 | 1 | 2 | 3 |
10 | ![]() |
0 | 1 | 1 | 2 |
11 | ![]() |
0 | 1 | 0 | 1 |
12 | ![]() |
0 | 0 | 2 | 2 |
![]() |
0 | 0 | 2 | 2 | |
13 | ![]() |
0 | 0 | 1 | 1 |
รวม | 17 | 17 | 17 | 51 |
ผู้เล่นทรงคุณค่า[แก้]
- 1952–1978 – ไม่มีการมอบรางวัล [1]
- 1982 –
หลาง ผิง
- 1986 –
หยาง ซีหลาน
- 1990 –
อีรีนา คีริลโลวา
- 1994 –
เรลกา ตอร์เรส
- 1998 –
เรลกา ตอร์เรส
- 2002 –
เอลีซา โตกุต
- 2006 –
โยชิเอะ ทาเกชิตะ
- 2010 –
เยคาเตรีนา กาโมวา
- 2014 –
คิมเบอร์ลี ฮิลล์
- 2018 –
ตียานา บอชคอวิช
- 2022 –
ตียานา บอชคอวิช
ดูเพิ่ม[แก้]
- กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิก
- วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ
- วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
- วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก
- วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ เอฟไอวีบี พิจารณาให้รัสเซีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 1993) เป็นผู้สืบสิทธิของสหภาพโซเวียต (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991) และเครือรัฐเอกราช (ค.ศ. 1992)
- ↑ เอฟไอวีบี พิจารณาให้ประเทศเซอร์เบีย (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007) เป็นผู้สืบสิทธิของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1991), สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1992 – ค.ศ. 2002) และเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ค.ศ. 2003 – ค.ศ. 2006)
- ↑ เอฟไอวีบี พิจารณาให้สาธารณรัฐเช็ก (ตั้งแต่ ค.ศ. 1994) เป็นผู้สืบสิทธิของเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ. 1948 – ค.ศ. 1993)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Volleywood. "List of MVP by edition - Women's World Championship". Volleywood.net.