วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2022
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1997
ฤดูกาลแรก1997
จำนวนทีม11
ทวีปเอเชียและโอเชียเนีย (เอวีซี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (9 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (9 สมัย)
หุ้นส่วนโทรทัศน์SMMTV
เว็บไซต์Asian Volleyball Confederation

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี (อังกฤษ: Asian Girls' U18 Volleyball Championship) หรือเดิมเรียกว่า วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์เอเชีย (อังกฤษ: Asian Youth Girls Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงสำหรับทีมชาติอายุไม่เกิน 18 ปี ในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (เอวีซี) ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาระหว่างประเทศ การแข่งขันจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1997 ได้รับการจัดขึ้นเป็นประจำทุกสองปี โดยจะมีเพียงสองทีมที่ผ่านการคัดเลือกเข้าวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1997
รายละเอียด
ไทย
ยะลา

ญี่ปุ่น
พบกันหมด
เกาหลีใต้

จีน
พบกันหมด
ไทย
8
1999
รายละเอียด
สิงคโปร์
สิงคโปร์

จีน
พบกันหมด
ญี่ปุ่น

จีนไทเป
พบกันหมด
เกาหลีใต้
8
2001
รายละเอียด
ไทย
ตรัง

จีน
3–0
ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้
3–2
จีนไทเป
9
2003
รายละเอียด
ไทย
ศรีสะเกษ

จีน
พบกันหมด
เกาหลีเหนือ

ไทย
พบกันหมด
จีนไทเป
8
2005
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
มันดาเว

จีน
3–2
เกาหลีใต้

จีนไทเป
3–2
ญี่ปุ่น
9
2007
รายละเอียด
ไทย
กำแพงเพชร

ญี่ปุ่น
พบกันหมด
เกาหลีใต้

จีน
พบกันหมด
จีนไทเป
8
2008
รายละเอียด
ฟิลิปปินส์
มะนิลา

ญี่ปุ่น
3–0
จีน

ไทย
3–0
เกาหลีใต้
12
2010
รายละเอียด
มาเลเซีย
กัวลาลัมเปอร์

ญี่ปุ่น
3–0
จีน

ไทย
3–1
เกาหลีใต้
13
2012
รายละเอียด
จีน
เฉิงตู

ญี่ปุ่น
3–1
จีน

ไทย
3–0
เกาหลีใต้
13
2014
รายละเอียด
ไทย
นครราชสีมา

ญี่ปุ่น
3–1
ไทย

จีน
3–0
เกาหลีใต้
13
2017
รายละเอียด
จีน
ฉงชิ่ง

ญี่ปุ่น
3–0
จีน

เกาหลีใต้
3–0
ไทย
11
2018
รายละเอียด
ไทย
นครปฐม

ญี่ปุ่น
3–1
จีน

ไทย
3–1
เกาหลีใต้
12
2020 ไทย
นครปฐม
ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
2022
รายละเอียด
ไทย
นครปฐม

ญี่ปุ่น
3–2
จีน

เกาหลีใต้
3–2
ไทย
11

ตารางเหรียญการแข่งขัน[แก้]

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น92011
2ธงชาติจีน จีน46313
3ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้0336
4ธงชาติไทย ไทย0145
5ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ0101
6ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป0033
รวม (6 ประเทศ)13131339

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ประเทศ ไทย
1997
สิงคโปร์
1999
ไทย
2001
ไทย
2003
ฟิลิปปินส์
2005
ไทย
2007
ฟิลิปปินส์
2008
มาเลเซีย
2010
จีน
2012
ไทย
2014
จีน
2017
ไทย
2018
ไทย
2022
จำนวนครั้ง
 ออสเตรเลีย 6th 8th 7th 6th 8th 7th 7th 11th 13th 7th 9th 11th 12
 จีน 3rd 1st 1st 1st 1st 3rd 2nd 2nd 2nd 3rd 2nd 2nd 2nd 13
 จีนไทเป 5th 3rd 4th 4th 3rd 4th 5th 5th 3rd 5th 5th 5th 5th 13
 ฮ่องกง 8th 9th 6th 12th 4
 อินเดีย 9th 5th 9th 6th 10th 13th 6th 11th 8th 10th 10
 อินโดนีเซีย 6th 1
 อิหร่าน 11th 9th 10th 10th 9th 7th 7th 7
 ญี่ปุ่น 1st 2nd 2nd 4th 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st 12
 คาซัคสถาน 6th 9th 6th 7th 6th 6th 6th 7
 มาเลเซีย 6th 7th 8th 11th 4
 มองโกเลีย 12th 1
 นิวซีแลนด์ 11th 8th 8th 10th 4
 เกาหลีเหนือ 6th 2nd 2
 ฟิลิปปินส์ 8th 8th 8th 8th 8th 7th 9th 7
 ซามัว 11th 1
 สิงคโปร์ 7th 7th 12th 3
 เกาหลีใต้ 2nd 4th 3rd 2nd 2nd 4th 4th 4th 4th 3rd 4th 3rd 12
 ศรีลังกา 7th 12th 13th 3
 ไทย 4th 5th 5th 3rd 5th 5th 3rd 3rd 5th 2nd 4th 3rd 4th 13
 อุซเบกิสถาน 10th 8th 2
 เวียดนาม 7th 10th 9th 12th 4
รวม 8 8 9 8 9 8 12 13 13 13 11 12 11

ผู้เล่นทรงคุณค่า[แก้]

  • 1997 มิโดริ ทากาฮาชิ (JPN)
  • 2001 หวง ฮุยผิง (CHN)
  • 2003 หวัง อีเหมย์ (CHN)
  • 2007 มิยุ นางาโอกะ (JPN)
  • 2008 ชิโอริ มูราตะ (JPN)
  • 2010 มาริ โฮริกาวะ (JPN)
  • 2012 ซารินะ โคงะ (JPN)
  • 2014 ไอริ มิยาเบะ (JPN)
  • 2017 นิชิกาวะ ยูกิ (JPN)
  • 2018 นิชิกาวะ โยชิโนะ (JPN)
  • 2022 โอโมริ ซาเอะ (JPN)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]