วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา
การแข่งขันหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1969
จำนวนทีม7 (รอบสุดท้าย)
ทวีปทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (นอร์เซกา)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน (4 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติคิวบา คิวบา (13 สมัย)

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา (อังกฤษ: NORCECA Women's Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลหญิงระดับทีมชาติชุดใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (นอร์เซกา) เริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1969 โดยจัดทุกๆ 2 ปี สำหรับแชมป์ส่วนใหญ่จะเป็นของทีมชาติคิวบา และทีมชาติสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับรางวัลร่วมกันทั้งหมด 21 ครั้ง จาก 24 ครั้งของการแข่งขัน

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 ทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1969
รายละเอียด
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี

เม็กซิโก
3–2
คิวบา

สหรัฐ
3–1
แคนาดา
7
1971
รายละเอียด
คิวบา
ฮาวานา

เม็กซิโก
พบกันหมด
คิวบา

เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส
พบกันหมด
ปวยร์โตรีโก
4
1973
รายละเอียด
เม็กซิโก
ตีฮัวนา

คิวบา
3–0
แคนาดา

สหรัฐ
3–2
เม็กซิโก
7
1975
รายละเอียด
สหรัฐ
ลอสแอนเจลิส

คิวบา
พบกันหมด
สหรัฐ

เม็กซิโก
พบกันหมด
แคนาดา
5
1977
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานโตโดมิงโก

คิวบา
3–1
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน
9
1979
รายละเอียด
คิวบา
ฮาวานา

คิวบา
พบกันหมด
สหรัฐ

เม็กซิโก
พบกันหมด
แคนาดา
7
1981
รายละเอียด
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี

สหรัฐ
3–1
คิวบา

เม็กซิโก
3–1
แคนาดา
9
1983
รายละเอียด
สหรัฐ
อินเดียแนโพลิส

สหรัฐ
พบกันหมด
คิวบา

แคนาดา
พบกันหมด
เม็กซิโก
6
1985
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานติเอโก

คิวบา
3–0
สหรัฐ

แคนาดา
3–?
ปวยร์โตรีโก
10
1987
รายละเอียด
คิวบา
ฮาวานา

คิวบา
พบกันหมด
สหรัฐ

แคนาดา
พบกันหมด
เม็กซิโก
7
1989
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
ซานฮวน

คิวบา
3–0
แคนาดา

สหรัฐ
3–0
เม็กซิโก
11
1991
รายละเอียด
แคนาดา
ริไจนา

คิวบา
พบกันหมด
สหรัฐ

แคนาดา
พบกันหมด
เม็กซิโก
7
1993
รายละเอียด
สหรัฐ
โคโลราโดสปริงส์

คิวบา
3–1
สหรัฐ

แคนาดา
3–?
เม็กซิโก
6
1995
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานโตโดมิงโก

คิวบา
3–1
สหรัฐ

แคนาดา
3–?
สาธารณรัฐโดมินิกัน
6
1997
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
คาวาส

คิวบา
3–1
สหรัฐ

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–1
แคนาดา
8
1999
รายละเอียด
เม็กซิโก
มอนเตร์เรย์

คิวบา
3–0
สหรัฐ

แคนาดา
3–1
สาธารณรัฐโดมินิกัน
8
2001
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานโตโดมิงโก

สหรัฐ
3–1
คิวบา

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–1
เม็กซิโก
6
2003
รายละเอียด
สาธารณรัฐโดมินิกัน
ซานโตโดมิงโก

สหรัฐ
3–0
คิวบา

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–0
แคนาดา
7
2005
รายละเอียด
ตรินิแดดและโตเบโก
พอร์ต-ออฟ-สเปน

สหรัฐ
3–2
คิวบา

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–0
ปวยร์โตรีโก
8
2007
รายละเอียด
แคนาดา
วินนิเพก

คิวบา
3–2
สหรัฐ

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–2
แคนาดา
8
2009
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
บายามอน

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–2
ปวยร์โตรีโก

คิวบา
3–2
สหรัฐ
8
2011
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
กากวาส

สหรัฐ
3–0
สาธารณรัฐโดมินิกัน

คิวบา
3–0
ปวยร์โตรีโก
9
2013
รายละเอียด
สหรัฐ
โอมาฮา

สหรัฐ
3–1
สาธารณรัฐโดมินิกัน

ปวยร์โตรีโก
3–0
แคนาดา
9
2015
รายละเอียด
เม็กซิโก
เบรากรุซ

สหรัฐ
3–1
สาธารณรัฐโดมินิกัน

ปวยร์โตรีโก
3–1
แคนาดา
8
2017
รายละเอียด
แคนาดา สาธารณรัฐโดมินิกัน ตรินิแดดและโตเบโก
แวนคูเวอร์ / ซานโตโดมิงโก / คูวา
ไม่มีการมอบรางวัล ไม่มีการมอบรางวัล 12
2019
รายละเอียด
ปวยร์โตรีโก
ซานฮวน[1]

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–2
สหรัฐ

แคนาดา
3–0
ปวยร์โตรีโก
8
2021
รายละเอียด
เม็กซิโก
กวาดาลาฮารา

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–2
ปวยร์โตรีโก

แคนาดา
3–2
สหรัฐ
7
2023
รายละเอียด
แคนาดา
นครเกแบ็ก

สาธารณรัฐโดมินิกัน
3–2
สหรัฐ

แคนาดา
3–1
คิวบา
7

ตารางเหรียญการแข่งขัน[แก้]

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1ธงชาติคิวบา คิวบา137222
2ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ813324
3ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน43512
4ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก2035
5ธงชาติแคนาดา แคนาดา021113
6ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก0224
7Flag of the Netherlands Antilles เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส0011
รวม (7 ประเทศ)27272781

ผู้เล่นทรงคุณค่า[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "2019 NORCECA Host" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-10-10. สืบค้นเมื่อ 2019-02-17.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]