วอลเลย์บอลชายทีมชาติอาร์เจนตินา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาร์เจนตินา
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลอาร์เจนตินา
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้
หัวหน้าผู้ฝึกสอนคูลิโอ เบลัสโก
อันดับเอฟไอวีบี6 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน6 (ครั้งแรกเมื่อ 1984)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด3rd place (1988)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน11 (ครั้งแรกเมื่อ 1960)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด3rd place (1982)
www.feva.org.ar (สเปน)
วอลเลย์บอลชายทีมชาติอาร์เจนตินา
เหรียญรางวัล
โอลิมปิก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1988 โซล ทีม
ชิงแชมป์โลก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1982 อาร์เจนตินา ทีม
อเมริกาคัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1998 มาร์เดลปลาตา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1999 แทมปา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2001 บัวโนสไอเรส ทีม
แพนอเมริกันเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1995 มาร์เดลปลาตา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 โทรอนโต ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2011 กวาดาลาฮารา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1991 ฮาวานา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1983 การากัส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1963 เซาเปาลู ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอาร์เจนตินา (สเปน: Selección masculina de voleibol de Argentina) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศอาร์เจนตินา ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลอาร์เจนตินา (โปรตุเกส: Federación del Voleibol Argentino)

ความสำเร็จที่ดีที่สุดของทีมคือเหรียญทองแดงจากวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 1982 วอลเลย์บอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และ 2 เหรียญทองจากแพนอเมริกันเกมส์ 1995 และ2015 ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ได้รับการจัดอันดับที่ 10 เป็นครั้งแรก

ประวัติการแข่งขัน[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • สหรัฐ 1984 – อันดับที่ 8
  • เกาหลีใต้ 1988 เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 8
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 4
  • กรีซ 2004 – อันดับที่ 5
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 5
  • บราซิล 2016 – อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2020 เหรียญทองแดง

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • บราซิล 1960 – อันดับที่ 11
  • อิตาลี 1978 – อันดับที่ 22
  • อาร์เจนตินา 1982 เหรียญทองแดง
  • ฝรั่งเศส 1986 – อันดับที่ 7
  • บราซิล 1990 – อันดับที่ 6
  • กรีซ 1994 – อันดับที่ 14
  • ญี่ปุ่น 1998 – อันดับที่ 17
  • อาร์เจนตินา 2002 – อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2006 – อันดับที่ 13
  • อิตาลี 2010 – อันดับที่ 9
  • โปแลนด์ 2014 – อันดับที่ 11
  • อิตาลีบัลแกเรีย 2018 – อันดับที่ 15
  • โปแลนด์สโลวีเนีย 2022 – อันดับที่ 8

วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1989 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1995 – อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1999 – อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2003 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 2007 – อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2011 – อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2015 – อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2019 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก[แก้]

  • เนเธอร์แลนด์ 1996 – อันดับที่ 17
  • รัสเซีย 1997 – อันดับที่ 8
  • อิตาลี 1998 – อันดับที่ 9
  • อาร์เจนตินา 1999 – อันดับที่ 6
  • เนเธอร์แลนด์ 2000 – อันดับที่ 8
  • โปแลนด์ 2001 – อันดับที่ 13
  • บราซิล 2002 – อันดับที่ 9
  • สเปน 2003 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • อิตาลี 2004 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 – อันดับที่ 10
  • รัสเซีย 2006 – อันดับที่ 7
  • โปแลนด์ 2007 – อันดับที่ 13
  • บราซิล 2008 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • เซอร์เบีย 2009 – อันดับที่ 5
  • อาร์เจนตินา 2010 – อันดับที่ 5
  • โปแลนด์ 2011 – อันดับที่ 4
  • บัลแกเรีย 2012 – อันดับที่ 10
  • อาร์เจนตินา 2013 – อันดับที่ 6
  • อิตาลี 2014 – อันดับที่ 13
  • บราซิล 2015 – อันดับที่ 11
  • โปแลนด์ 2016 – อันดับที่ 10
  • บราซิล 2017 – อันดับที่ 10

วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก[แก้]

  • ฝรั่งเศส 2017 – อันดับที่ 14

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1993 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1997 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 2001 – อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2005 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 2009 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 2013 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน

แพนอเมริกันเกมส์[แก้]

  • บราซิล 1963 เหรียญทองแดง
  • เวเนซุเอลา 1983 เหรียญทองแดง
  • คิวบา 1991 เหรียญทองแดง
  • อาร์เจนตินา 1995 เหรียญทอง
  • เม็กซิโก 2011 เหรียญทองแดง
  • แคนาดา 2015 เหรียญทอง

อเมริกาคัพ[แก้]

  • อาร์เจนตินา 1998 เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1999 เหรียญทองแดง
  • บราซิล 2000 – อันดับที่ 4
  • อาร์เจนตินา 2001 เหรียญทองแดง
  • บราซิล 2005 – อันดับที่ 4
  • บราซิล 2007 – อันดับที่ 4
  • บราซิล 2008 – อันดับที่ 4

แพน-อเมริกันคัพ[แก้]

  • ปวยร์โตรีโก 2010 เหรียญเงิน
  • บราซิล 2011 – อันดับที่ 7
  • สหรัฐ 2012 เหรียญเงิน
  • บราซิล 2013 เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2014 เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 2015 เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2016 – เหรียญเงิน
  • แคนาดา 2017 – เหรียญทอง

ทีม[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

ข้อมูลล่าสุดจากรายผู้เล่นที่เรียกตัวจากรายการวอลเลย์เนชันส์ลีก 2018

หมายเลขชื่อ วันเกิด ความสูง น้ำหนัก กระโดดตบ กระโดบล็อก สโมสร 2017–18
1มาติอัส ซานเชซ20 กันยายน 19961.73 m (5 ft 8 in)67 kg (148 lb)306 ซm (120 in)290 ซm (110 in)อาร์เจนตินา โอบราส เด ซาน ฆวน
2 ลิซานโดร ซานอตติ 4 ตุลาคม 1990 1.95 m (6 ft 5 in) 88 kg (194 lb) 336 ซm (132 in) 315 ซm (124 in) อาร์เจนตินา มอนเตสกลาโรส
3 ฆาน มาร์ติเนซ ฟรังคิ 28 มกราคม 1998 1.90 m (6 ft 3 in) 85 kg (187 lb) 333 ซm (131 in) 316 ซm (124 in) อาร์เจนตินา กลุบ ซิอูดัด เด บูเอโนส ไอเรส
4 มักซิมิเลียโน กาวันนา 2 กรกฎาคม 1988 1.88 m (6 ft 2 in) 81 kg (179 lb) 333 ซm (131 in) 312 ซm (123 in) อาร์เจนตินา UPCN ซาน ฆวน วอลเลย์
5 อิกนาซิโอ เฟร์นันเดซ (L) 7 มิถุนายน 1994 1.77 m (5 ft 10 in) 73 kg (161 lb) 310 ซm (120 in) 300 ซm (120 in) อาร์เจนตินา กลุบ ซิอูดัด เด บูเอโนส ไอเรส
6 กริสเตียน ปอกลาเฆน 14 กรกฎาคม 1989 1.95 m (6 ft 5 in) 94 kg (207 lb) 342 ซm (135 in) 322 ซm (127 in) อิตาลี ราเวนนา
7 ฟากุนโด คอนเต 25 สิงหาคม 1989 1.97 m (6 ft 6 in) 88 kg (194 lb) 354 ซm (139 in) 334 ซm (131 in) จีน ช่างไห่ โกลเดน เอจ
8 อากุสติน โลเซร์ 12 ตุลาคม 1997 1.93 m (6 ft 4 in) 77 kg (170 lb) 335 ซm (132 in) 310 ซm (120 in) อาร์เจนตินา กลุบ ซิอูดัด เด บูเอโนส ไอเรส
11 เซบัสเตียน โซเล 12 มิถุนายน 1991 2.00 m (6 ft 7 in) 94 kg (207 lb) 362 ซm (143 in) 342 ซm (135 in) บราซิล เตาบาเต
12 บรูโน ลิมา 4 กุมภาพันธ์ 1996 1.98 m (6 ft 6 in) 87 kg (192 lb) 345 ซm (136 in) 320 ซm (130 in) อาร์เจนตินา โอบราส เด ซาน ฆวน
13 เอเซกิเอล ปาลาซิโอส 2 ตุลาคม 1992 1.98 m (6 ft 6 in) 95 kg (209 lb) 345 ซm (136 in) 325 ซm (128 in) อาร์เจนตินา กลุบ ซิอูดัด เด บูเอโนส ไอเรส
14 ปาโบล เกรร์ 12 มิถุนายน 1989 2.02 m (6 ft 8 in) 85 kg (187 lb) 357 ซm (141 in) 337 ซm (133 in) อาร์เจนตินา เปร์โซนัล โบลิวาร์
15 ลูเซียโน เด เซกโก 2 มิถุนายน 1988 1.91 m (6 ft 3 in) 98 kg (216 lb) 332 ซm (131 in) 315 ซm (124 in) อิตาลี เซอร์ เซฟตี เปรูจา
16 ซานติอาโก ดานานิ (L) 12 ธันวาคม 1995 1.76 m (5 ft 9 in) 77 kg (170 lb) 324 ซm (128 in) 309 ซm (122 in) อิตาลี ปาโดวา
17 โตมัส โลเปซ 12 กันยายน 1994 1.86 m (6 ft 1 in) 79 kg (174 lb) 328 ซm (129 in) 290 ซm (110 in) อาร์เจนตินา ลิเบร์ตัด บูร์ฆิ โวเลย์
18 มาร์ติน รามอส (C) 26 สิงหาคม 1991 1.97 m (6 ft 6 in) 94 kg (207 lb) 348 ซm (137 in) 328 ซm (129 in) อาร์เจนตินา UPCN ซาน ฆวน วอลเลย์
19 ฟรังโก มัสซิมิโน (L) 23 พฤษภาคม 1988 1.77 m (5 ft 10 in) 76 kg (168 lb) 348 ซm (137 in) 328 ซm (129 in) อาร์เจนตินา โลมัส วอลเลย์
20 โฆอากิน กาเยโก 21 พฤศจิกายน 1996 2.04 m (6 ft 8 in) 102 kg (225 lb) 343 ซm (135 in) 323 ซm (127 in) อาร์เจนตินา กลุบ ซิอูดัด เด บูเอโนส ไอเรส
21 กัสปาร์ บิตาร์ 19 พฤศจิกายน 1995 1.83 m (6 ft 0 in) 71 kg (157 lb) 326 ซm (128 in) 312 ซm (123 in) กลุบ อิตาเลียโน
22 กัสตอน เฟร์นันเดซ 4 สิงหาคม 1995 2.03 m (6 ft 8 in) 101 kg (223 lb) 339 ซm (133 in) 317 ซm (125 in) อาร์เจนตินากลุบ ซิอูดัด เด บูเอโนส ไอเรส
23 อเลฆานโดร โตโร 20 กรกฎาคม 1989 1.90 m (6 ft 3 in) 83 kg (183 lb) 336 ซm (132 in) 320 ซm (130 in) อาร์เจนตินา โลมัส วอลเลย์

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]