ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายทีมชาติฝรั่งเศส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฝรั่งเศส
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลฝรั่งเศส
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนโลร็อง ทิลลี
อันดับเอฟไอวีบี4 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน3 (ครั้งแรกเมื่อ 1988)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับ 8 (1988)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน15 (ครั้งแรกเมื่อ 1949)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับ 3 (2002)
www.volley.asso.fr (ฝรั่งเศส)
วอลเลย์บอลชายทีมชาติฝรั่งเศส
เหรียญรางวัล
ชิงแชมป์โลก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2002 อาร์เจนตินา ทีม
เวิลด์ลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 รีโอเดจาเนโร ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2006 มอสโก ทีม
ชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1948 อิตาลี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1987 เบลเยียม ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2003 เยอรมนี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2009 ตุรกี ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1951 ฝรั่งเศส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1985 เนเธอร์แลนด์ ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Équipe de France de volley-ball) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศฝรั่งเศส และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

เกียรติประวัติ

[แก้]
รายการแข่งขัน 1 2 3 รวม
โอลิมปิก 1 0 0 0
ชิงแชมป์โลก 0 0 1 1
ชิงแชมป์ยุโรป 0 4 2 6
เวิลด์ลีก 2 1 1 4
เวิลด์คัพ 0 0 0 0
รวม 28 15 19 62

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2021-2022 ตำแหน่ง
1 บาร์เตเลมี ซิแน็งเยซ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 204 357 332 อิตาลี อลิอันซ์ มิลาโน่ ตัวบล็อกกลาง
2 เจเนีย เกรเบนนีคอฟ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1990 188 345 330 รัสเซีย เซนิต เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ตัวรับอิสระ
4 ฌ็อง ปาทรี 27 ธันวาคม ค.ศ. 1996 207 357 334 อิตาลี อลิอันซ์ มิลาโน่ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
6 เบนจาม็อง ตูนิตติ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1989 183 320 310 โปแลนด์ ยัสตแช็มบ์สกี แวงกีแยล ตัวเซ็ต
7 เควิน ทิลลี 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 200 345 325 ฝรั่งเศส ทัวร์ วอลเลย์ ตัวตบหัวเสา
9 แอร์วีน แอนกาแป็ต 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 194 358 327 อิตาลี ลีโอ ชูตส์ โมเดน่า ตัวตบหัวเสา
11 อ็องตวน บริซาร์ด 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 196 340 310 อิตาลี กัส เซลส์ ปิอาเชนซ่า ตัวเซ็ต
12 สตีเฟน โบเยอร์ 10 เมษายน ค.ศ. 1996 196 355 334 โปแลนด์ ยัสตแช็มบ์สกี แวงกีแยล ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
14 นิโคลัส เลอ กอฟฟ์ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 206 346 316 ฝรั่งเศส มงต์เปลิเยร์ วอลเลย์ ตัวบล็อกกลาง
16 ดาริล บุลตอร์ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 197 342 317 ฝรั่งเศส ทัวร์ กูอิง ลีลล์ เมโทรโพเล ตัวบล็อกกลาง
17 เทร์วอร์ เคลเวโนต์ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1994 199 335 316 โปแลนด์ ยัสตแช็มบ์สกี แวงกีแยล ตัวตบหัวเสา
19 ยาซีน ลูอาติ 4 มีนาคม ค.ศ. 1992 198 345 324 ตุรกี เฟเนร์บาห์เช HDI ตัวตบหัวเสา

รางวัล

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1964 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
เม็กซิโก 1968
เยอรมนีตะวันตก 1972
แคนาดา 1976
สหภาพโซเวียต 1980
สหรัฐ 1984
เกาหลีใต้ 1988 อันดับที่ 8
สเปน 1992 อันดับที่ 11
สหรัฐ 1996 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ออสเตรเลีย 2000
กรีซ 2004 อันดับที่ 9
ปี อันดับ
จีน 2008 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
สหราชอาณาจักร 2012
บราซิล 2016 อันดับที่ 9
ญี่ปุ่น 2020 1

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
ปี อันดับ
เชโกสโลวาเกีย 1949 6
สหภาพโซเวียต 1952 6
ฝรั่งเศส 1956 7
บราซิล 1960 9
สหภาพโซเวียต 1962 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
เชโกสโลวาเกีย 1966 18
บัลแกเรีย 1970 17
เม็กซิโก 1974 16
อิตาลี 1978 15
อาร์เจนตินา 1982 16
ฝรั่งเศส 1986 6
บราซิล 1990 8
กรีซ 1994 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1998
อาร์เจนตินา 2002 3
ญี่ปุ่น 2006 6
อิตาลี 2010 11
โปแลนด์ 2014 4

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

[แก้]
ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1990 5
อิตาลี 1991 7
อิตาลี 1992 10
บราซิล 1993 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
อิตาลี 1994
บราซิล 1995
เนเธอร์แลนด์ 1996
รัสเซีย 1997
อิตาลี 1998
อาร์เจนตินา 1999 7
เนเธอร์แลนด์ 2000 7
โปแลนด์ 2001 5
บราซิล 2002 7
สเปน 2003 10
อิตาลี 2004 5
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 10
รัสเซีย 2006 2
โปแลนด์ 2007 6
บราซิล 2008 10
เซอร์เบีย 2009 9
อาร์เจนตินา 2010 12
โปแลนด์ 2011 12
บัลแกเรีย 2012 7
ปี อันดับ
อาร์เจนตินา 2013 10
อิตาลี 2014 10
บราซิล 2015 1
โปแลนด์ 2016 3
บราซิล 2017 1

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

[แก้]
ปี อันดับ
อิตาลี 1948 2
บัลแกเรีย 1950 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ฝรั่งเศส 1951 3
โรมาเนีย 1955 8
เชโกสโลวาเกีย 1958 8
โรมาเนีย 1963 8
ตุรกี 1967 10
อิตาลี 1971 14
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 8
ฟินแลนด์ 1977 10
ฝรั่งเศส 1979 4
บัลแกเรีย 1981 8
เยอรมนีตะวันออก 1983 12
เนเธอร์แลนด์ 1985 3
เบลเยียม 1987 2
สวีเดน 1989 5
เยอรมนี 1991 9
ฟินแลนด์ 1993 9
กรีซ 1995 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
เนเธอร์แลนด์ 1997 4
ออสเตรีย 1999 6
เช็กเกีย 2001 7
เยอรมนี 2003 2
อิตาลี 2005 7
ปี อันดับ
รัสเซีย 2007 9
ตุรกี 2009 2
ออสเตรีย/เช็กเกีย 2011 7
เดนมาร์ก/โปแลนด์ 2013 5
บัลแกเรีย/อิตาลี 2015 1

ปี อันดับ
เลบานอน 1959 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
อิตาลี 1963
ตูนิเซีย 1967 2
ตุรกี 1971 ?
แอลจีเรีย 1975 3
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1979 3
โมร็อกโก 1983 2
ซีเรีย 1987 ?
กรีซ 1991 4
ฝรั่งเศส 1993 1
อิตาลี 1997 1
ตูนิเซีย 2001 4
สเปน 2005 6
อิตาลี 2009 8
ตุรกี 2013 3

กู๊ดวิลเกมส์

[แก้]
ปี อันดับ
สหภาพโซเวียต 1986 6

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]