ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายทีมชาติรัสเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัสเซีย
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอันเดรย์ โวรอนคอฟ
อันดับเอฟไอวีบี3 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน12 (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1964, 1968, 1980, 2012)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน18 (ครั้งแรกเมื่อ 1949)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1949, 1952, 1960, 1962, 1978, 1982)
www.volley.ru (รัสเซีย)
วอลเลย์บอลชายทีมชาติรัสเซีย
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1964 โตเกียว ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1968 เม็กซิโกซิตี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1980 มอสโก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2012 ลอนดอน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1976 มอนทรีออล ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1988 โซล ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2000 ซิดนีย์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1972 มิวนิก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2004 เอเธนส์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2008 ปักกิ่ง ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1949 เชโกสโลวาเกีย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1952 สหภาพโซเวียต ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1960 บราซิล ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1962 สหภาพโซเวียต ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1978 อิตาลี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1982 อาร์เจนตินา ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1974 เม็กซิโก ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1986 ฝรั่งเศส ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2002 อาร์เจนตินา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1956 ฝรั่งเศส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1966 เชโกสโลวาเกีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1990 บราซิล ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1965 โปแลนด์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1977 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1981 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1991 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1999 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1985 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2007 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1969 เยอรมนีตะวันออก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1989 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2013 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2002 เบโลโอรีซอนชี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 กดัญสก์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 มาร์เดลปลาตา ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1993 เซาเปาลู ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1998 มิลาน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2000 รอตเทอร์ดาม ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2007 คาโตวีตเซ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2010 กอร์โดบา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1991 มิลาน ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1996 รอตเทอร์ดาม ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1997 มอสโก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2001 คาโตวีตเซ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2006 มอสโก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2008 รีโอเดจาเนโร ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2009 เบลเกรด ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1950 บัลแกเรีย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1951 ฝรั่งเศส ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1967 ตุรกี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1971 อิตาลี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1975 ยูโกสลาเวีย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1977 ฟินแลนด์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1979 ฝรั่งเศส ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1981 บัลแกเรีย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1983 เยอรมนีตะวันออก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1985 เนเธอร์แลนด์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1987 เบลเยียม ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1991 เยอรมนี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 เดนมาร์ก/โปแลนด์ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1999 ออสเตรีย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2005 อิตาลี/เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2007 รัสเซีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1958 เชโกสโลวาเกีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1963 โรมาเนีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1993 ฟินแลนด์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2001 สาธารณรัฐเช็ก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 เยอรมนี ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยูโรเปียนลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2005 คาซาน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2004 โอปาวา ทีม
กีฬามหาวิทยาลัยโลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1963 ปอร์ตูอาเลเกร ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1965 บูดาเปสต์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1973 มอสโก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2009 เบลเกรด ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 เซินเจิ้น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 คาซาน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1970 ตูริน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1985 โคเบะ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1991 เชฟฟีลด์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1997 ซิซิลี ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2001 ปักกิ่ง ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติรัสเซีย (รัสเซีย: Мужская сборная России по волейболу) เป็นทีมชาติของประเทศรัสเซีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

ทีมนี้ลงแข่งขันในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง 1991 ในฐานะสหภาพโซเวียต และในฐานะเครือรัฐเอกราช ใน ค.ศ. 1992

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2021-2022 ตำแหน่ง
1 ยารอสลาฟ ปอดเลสนีค 3 กันยายน 1994 1.98 341 330 ประเทศรัสเซีย ไดนาโม มอสโก ตัวตีด้านนอก
4 อาดัม โวลวิช 22 มกราคม 1990 2.08 350 330 ประเทศรัสเซีย เซนิต คาซาน ตัวบล็อกกลาง
7 เดมิทรี โวลคอฟ 25 พฤษภาคม 1995 2.02 340 330 ประเทศรัสเซีย เซนิต คาซาน ตัวตีด้านนอก
9 อิวาน ยาคอฟเลฟ 17 เมษายน 1995 2.07 360 350 ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก ตัวบล็อกกลาง
10 เดนิส บ็อกแดน 13 ตุลาคม 1996 2.00 350 340 ประเทศรัสเซีย ไดนาโม มอสโก ตัวตีด้านนอก
11 ปาเวล แพนคอฟ 14 สิงหาคม 1995 1.98 345 330 ประเทศรัสเซีย ไดนาโม มอสโก ตัวเซต
15 วิคเตอร์ โปเลตาเยฟ 27 กรกฎาคม 1995 1.97 360 340 ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก ตัวบุกแดนหลัง
17 แม็กซิม มิคายลอฟ 19 มีนาคม 1988 2.02 345 330 ประเทศรัสเซีย เซนิต คาซาน ตัวบุกแดนหลัง
18 อีกอร์ คลูกา 15 มิถุนายน 1995 2.08 360 350 ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก ตัวตีด้านนอก
20 อิลยาส คูร์คาเยฟ 18 มกราคม 1994 2.07 355 335 ประเทศรัสเซีย โลโคโมทีฟ โนโวซีบีสค์ ตัวบล็อกกลาง
24 อิกอร์ คอบซาร์ 13 เมษายน 1991 1.98 337 315 ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก ตัวเซต
27 วาเลนติน โกลูเบฟ 3 พฤษภาคม 1992 1.90 310 305 ประเทศรัสเซีย เซนิต คาซาน ตัวรับอิสระ

รางวัล

[แก้]
ในฐานะสหภาพโซเวียต
  • ประเทศญี่ปุ่น 19641 เหรียญทอง
  • ประเทศเม็กซิโก 19681 เหรียญทอง
  • ประเทศเยอรมนี 19723 เหรียญทองแดง
  • ประเทศแคนาดา 19762 เหรียญเงิน
  • สหภาพโซเวียต 19801 เหรียญทอง
  • ประเทศเกาหลีใต้ 19882 เหรียญเงิน
ในฐานะเครือรัฐเอกราช
  • ประเทศสเปน 1992 – อันดับที่ 7
ในฐานะรัสเซีย
  • สหรัฐอเมริกา 1996 – อันดับที่ 4
  • ประเทศออสเตรเลีย 20002 เหรียญเงิน
  • ประเทศกรีซ 20043 เหรียญทองแดง
  • ประเทศจีน 20083 เหรียญทองแดง
  • สหราชอาณาจักร 20121 เหรียญทอง
  • ประเทศบราซิล 2016 – อันดับที่ 4
ในฐานะเครือรัฐเอกราช
  • ประเทศเชโกสโลวาเกีย 19491 เหรียญทอง
  • สหภาพโซเวียต 19521 เหรียญทอง
  • ประเทศฝรั่งเศส 19562 เหรียญเงิน
  • ประเทศบราซิล 19601 เหรียญทอง
  • สหภาพโซเวียต 19621 เหรียญทอง
  • ประเทศเชโกสโลวาเกีย 19663 เหรียญทองแดง
  • ประเทศบัลแกเรีย 1970 – อันดับที่ 6
  • ประเทศเม็กซิโก 19742 เหรียญเงิน
  • ประเทศอิตาลี 19781 เหรียญทอง
  • ประเทศอาร์เจนตินา 19821 เหรียญทอง
  • ประเทศฝรั่งเศส 19862 เหรียญเงิน
  • ประเทศบราซิล 19603 เหรียญทองแดง
ในฐานะรัสเซีย
  • ประเทศกรีซ 1994 – อันดับที่ 7
  • ประเทศญี่ปุ่น 1998 – อันดับที่ 5
  • ประเทศอาร์เจนตินา 20022 เหรียญเงิน
  • ประเทศญี่ปุ่น 2006 – อันดับที่ 7
  • ประเทศอิตาลี 2010 – อันดับที่ 5
  • ประเทศโปแลนด์ 2014 – อันดับที่ 5
  • ประเทศอิตาลี/ประเทศบัลแกเรีย 2018 – อันดับที่ 5
ในฐานะเครือรัฐเอกราช
  • ประเทศโปแลนด์ 19651 เหรียญทอง
  • ประเทศเยอรมนีตะวันออก 19693 เหรียญทองแดง
  • ประเทศญี่ปุ่น 19771 เหรียญทอง
  • ประเทศญี่ปุ่น 19811 เหรียญทอง
  • ประเทศญี่ปุ่น 19852 เหรียญเงิน
  • ประเทศญี่ปุ่น 19893 เหรียญทองแดง
  • ประเทศญี่ปุ่น 19911 เหรียญทอง
ในฐานะรัสเซีย
  • ประเทศญี่ปุ่น 1995 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศญี่ปุ่น 19991 เหรียญทอง
  • ประเทศญี่ปุ่น 2003 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศญี่ปุ่น 20072 เหรียญเงิน
  • ประเทศญี่ปุ่น 20111 เหรียญทอง
  • ประเทศญี่ปุ่น 2015 – อันดับที่ 4
  • ประเทศญี่ปุ่น 2019 – อันดับที่ 6
ในฐานะสหภาพโซเวียต
  • ประเทศญี่ปุ่น 1990 – อันดับที่ 4
  • ประเทศอิตาลี 19913 เหรียญทองแดง
ในฐานะเครือรัฐเอกราช
  • ประเทศอิตาลี 1992 – อันดับที่ 8
ในฐานะรัสเซีย
  • ประเทศบราซิล 19932 เหรียญเงิน
  • ประเทศอิตาลี 1994 – อันดับที่ 6
  • ประเทศบราซิล 1995 – อันดับที่ 4
  • ประเทศเนเธอร์แลนด์ 19963 เหรียญทองแดง
  • ประเทศรัสเซีย 19973 เหรียญทองแดง
  • ประเทศอิตาลี 19982 เหรียญเงิน
  • ประเทศอาร์เจนตินา 1999 – อันดับที่ 4
  • ประเทศเนเธอร์แลนด์ 20002 เหรียญเงิน
  • ประเทศโปแลนด์ 20013 เหรียญทองแดง
  • ประเทศบราซิล 20021 เหรียญทอง
  • ประเทศสเปน 2003 – อันดับที่ 7
  • ประเทศอิตาลี 2004 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ประเทศรัสเซีย 20063 เหรียญทองแดง
  • ประเทศโปแลนด์ 20072 เหรียญเงิน
  • ประเทศบราซิล 20083 เหรียญทองแดง
  • ประเทศเซอร์เบีย 20093 เหรียญทองแดง
  • ประเทศอาร์เจนตินา 20102 เหรียญเงิน
  • ประเทศโปแลนด์ 20111 เหรียญทอง
  • ประเทศบัลแกเรีย 2012 – อันดับที่ 8
  • ประเทศอาร์เจนตินา 20131 เหรียญทอง
  • ประเทศอิตาลี 2014 – อันดับที่ 5
  • ประเทศบราซิล 2015 – อันดับที่ 8
  • ประเทศโปแลนด์ 2016 – อันดับที่ 7
  • ประเทศบราซิล 2017 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

[แก้]
ในฐานะสหภาพโซเวียต
  • ประเทศบัลแกเรีย 19501 เหรียญทอง
  • ประเทศฝรั่งเศส 19511 เหรียญทอง
  • ประเทศโรมาเนีย 1955 – อันดับที่ 4
  • ประเทศเชโกสโลวาเกีย 19583 เหรียญทองแดง
  • ประเทศโรมาเนีย 19633 เหรียญทองแดง
  • ประเทศตุรกี 19671 เหรียญทอง
  • ประเทศอิตาลี 19711 เหรียญทอง
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 19751 เหรียญทอง
  • ประเทศฟินแลนด์ 19771 เหรียญทอง
  • ประเทศฝรั่งเศส 19791 เหรียญทอง
  • ประเทศบัลแกเรีย 19811 เหรียญทอง
  • ประเทศเยอรมนีตะวันออก 19831 เหรียญทอง
  • ประเทศเนเธอร์แลนด์ 19851 เหรียญทอง
  • ประเทศเบลเยียม 19871 เหรียญทอง
  • ประเทศสวีเดน 1989 – อันดับที่ 4
  • ประเทศเยอรมนี 19911 เหรียญทอง
ในฐานะรัสเซีย
  • ประเทศฟินแลนด์ 19933 เหรียญทองแดง
  • ประเทศกรีซ 1995 – อันดับที่ 5
  • ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1997 – อันดับที่ 5
  • ประเทศออสเตรีย 19992 เหรียญเงิน
  • ประเทศเช็กเกีย 20013 เหรียญทองแดง
  • ประเทศเยอรมนี 20033 เหรียญทองแดง
  • ประเทศอิตาลี/ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร20052 เหรียญเงิน
  • ประเทศรัสเซีย 20072 เหรียญเงิน
  • ประเทศตุรกี 2009 – อันดับที่ 4
  • ประเทศออสเตรีย/ประเทศเช็กเกีย 2011 – อันดับที่ 4
  • ประเทศเดนมาร์ก/ประเทศโปแลนด์ 20131 เหรียญทอง
  • ประเทศบัลแกเรีย/ประเทศอิตาลี 2015 – อันดับที่ 6

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยูโรเปียนลีก

[แก้]
  • ประเทศเช็กเกีย 20042 เหรียญเงิน
  • ประเทศรัสเซีย 20051 เหรียญทอง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]