วอลเลย์บอลหญิงเอวีซีคัพ
หน้าตา
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน: วอลเลย์บอลหญิงเอวีซีคัพ 2022 | |
กีฬา | วอลเลย์บอล |
---|---|
ก่อตั้ง | ค.ศ. 2008 |
จำนวนทีม | 10 (รอบสุดท้าย) |
ทวีป | เอเชียและโอเชียเนีย (เอวีซี) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ญี่ปุ่น (1 สมัย) |
ทีมชนะเลิศสูงสุด | จีน (5 สมัย) |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | พีพีทีวี |
เว็บไซต์ | asianvolleyball |
วอลเลย์บอลหญิงเอวีซีคัพ (อังกฤษ: AVC Cup for Women) หรือชื่อระหว่างปี ค.ศ. 2008 – ค.ศ. 2010 ว่า วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชียนคัพ (อังกฤษ: Asian Women's Cup Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงสำหรับทีมชาติชุดใหญ่ของทวีปเอเชียและโอเชียเนีย จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (เอวีซี) ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาระหว่างทวีป การแข่งขันได้รับการจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008[1] ทีมชนะเลิศการแข่งขันครั้งล่าสุดคือทีมชาติญี่ปุ่น ซึ่งชนะเลิศในการแข่งขันปี 2022
ในการแข่งขันเอวีซีคัพ 7 ครั้ง มีชาติที่ชนะในการแข่งขัน 3 ชาติ ทีมชาติจีน ชนะ 5 ครั้ง ทีมชาติญี่ปุ่นและทีมชาติไทย ชนะ 1 ครั้ง
สรุปการแข่งขัน
[แก้]ปี | เจ้าภาพ | รอบชิงชนะเลิศ | รอบชิงอันดับ 3 | จำนวนทีม | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | คะแนน | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | คะแนน | อันดับที่ 4 | ||||||
2008 รายละเอียด |
นครราชสีมา |
จีน |
3–0 | เกาหลีใต้ |
ไทย |
3–2 | ญี่ปุ่น |
8 | |||
2010 รายละเอียด |
ไท่ฉาง |
จีน |
3–0 | ไทย |
เกาหลีใต้ |
3–0 | ญี่ปุ่น |
8 | |||
2012 รายละเอียด |
อัลมาเตอ |
ไทย |
3–1 | จีน |
คาซัคสถาน |
3–0 | เวียดนาม |
8 | |||
2014 รายละเอียด |
เซินเจิ้น |
จีน |
3–0 | เกาหลีใต้ |
คาซัคสถาน |
3–2 | ญี่ปุ่น |
8 | |||
2016 รายละเอียด |
หวิญฟุก |
จีน |
3–0 | คาซัคสถาน |
ไทย |
3–0 | ญี่ปุ่น |
8 | |||
2018 รายละเอียด |
นครราชสีมา |
จีน |
3–0 | ญี่ปุ่น |
ไทย |
3–0 | จีนไทเป |
10 | |||
2020 | ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 | ||||||||||
2022 รายละเอียด |
มะนิลา |
ญี่ปุ่น |
3–1 | จีน |
ไทย |
3–0 | เวียดนาม |
9 |
ตารางเหรียญการแข่งขัน
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | จีน | 5 | 2 | 0 | 7 |
2 | ไทย | 1 | 1 | 4 | 6 |
3 | ญี่ปุ่น | 1 | 1 | 0 | 2 |
4 | เกาหลีใต้ | 0 | 2 | 1 | 3 |
5 | คาซัคสถาน | 0 | 1 | 2 | 3 |
รวม (5 ประเทศ) | 7 | 7 | 7 | 21 |
ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน
[แก้]- 1 – ชนะเลิศ
- 2 – รองชนะเลิศ
- 3 – อันดับที่ 3
- 4 – อันดับที่ 4
- • – ไม่ได้เข้าร่วม / ไม่ผ่านการคัดเลือก
- – เจ้าภาพ
- Q – ผ่านเข้ารอบการแข่งขัน
ทีม | 2008 (8) |
2010 (8) |
2012 (8) |
2014 (8) |
2016 (8) |
2018 (10) |
2022 (9) |
รวมเข้าร่วม |
ออสเตรเลีย | 7 | • | • | • | • | 7 | 8 | 3 |
จีน | 1 | 1 | 2 | 1 | 1 | 1 | 2 | 7 |
จีนไทเป | 6 | 6 | 7 | 6 | 5 | 4 | 5 | 7 |
อิหร่าน | • | 8 | 8 | 7 | 6 | 8 | 7 | 6 |
ญี่ปุ่น | 4 | 4 | 5 | 4 | 4 | 2 | 1 | 7 |
คาซัคสถาน | • | 5 | 3 | 3 | 2 | 10 | • | 5 |
มาเลเซีย | 8 | • | • | • | • | • | • | 1 |
ฟิลิปปินส์ | • | • | • | • | • | 9 | 6 | 2 |
เกาหลีใต้ | 2 | 3 | 6 | 2 | 8 | 6 | 9 | 7 |
ไทย | 3 | 2 | 1 | 5 | 3 | 3 | 3 | 7 |
เวียดนาม | 5 | 7 | 4 | 8 | 7 | 5 | 4 | 7 |
ผู้เล่นทรงคุณค่า
[แก้]- 2008 – เว่ย ชิวเยว่
- 2010 – หวัง อีเหมย์
- 2012 – อรอุมา สิทธิรักษ์
- 2014 – เหยียน หนี
- 2016 – หลี่ จิ้ง
- 2018 – หลิว เยี่ยนหาน
- 2022 – มิกะ ชิบะตะ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Thailand to Host Inaugural Asian Women's Cup Volleyball Championship". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-28. สืบค้นเมื่อ 2008-09-28.