วอลเลย์บอลชายทีมชาติเอสโตเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอสโตเนีย
ฉายาSinilõvid (สิงโตน้ำเงิน)
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลเอสโตเนีย
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนAlar Rikberg
อันดับเอฟไอวีบี48 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชิงแชมป์ยุโรป
เข้าร่วมแข่งขัน6 (ครั้งแรกเมื่อ 2009)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 11 (2015)
volley.ee (ในภาษาเอสโตเนีย)

วอลเลย์บอลชายทีมชาติเอสโตเนีย (เอสโตเนีย: Eesti meeste võrkpallikoondis) เป็นตัวแทนของประเทศเอสโตเนียในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์วอลเลย์บอลเอสโตเนีย (Eesti Võrkpalli Liit; EVF) ทีมชาติเอสโตเนียเข้าร่วมแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปทั้งหมด 6 ครั้งโดยผลงานที่ดีสุดคือจบอันดับที่ 11 ในปี 2015[1] และคว้าแชมป์ยูโรเปียนลีก 2 สมัยในปี 2016 และ 2018[2][3]

ผลงานการแข่งขัน[แก้]

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก[แก้]

เวิลด์ลีก
ปี รอบ อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้ เชตชนะ เชตแพ้ รายชื่อ
19902015 ไม่ได้เข้าร่วม
โปแลนด์ 2016 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บราซิล 2017 รอบ 4 ทีมสุดท้าย (ดิวิชัน 3) อันดับที่ 1 (อันดับที่ 25) 8 7 1 22 7 รายชื่อ
รวม 1/28 0 ครั้ง 8 7 1 22 7

วอลเลย์บอลแชลเลนเจอร์คัพ[แก้]

แชลเลนเจอร์คัพ
ปี รอบ อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้ เชตชนะ เชตแพ้ รายชื่อ
โปรตุเกส 2018 รอบสุดท้าย อันดับที่ 3 4 2 2 7 7 รายชื่อ
สโลวีเนีย 2019 ไม่ผ่านการคัดเลือก
2020–2021 ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
20222023 ไม่ผ่านการคัดเลือก
รวม 1/4 0 ครั้ง 4 2 2 7 7

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป[แก้]

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป รอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้ เชตชนะ เชตแพ้ รายชื่อ แข่ง ชนะ แพ้
19481991 ไม่ได้เข้าร่วมเนื่องจากการยึดครองของโซเวียต
ฟินแลนด์ 1993 ไม่ผ่านการคัดเลือก 2[a] 1 1
19951999 ไม่ได้เข้าร่วม
เช็กเกีย 2001 ไม่ผ่านการคัดเลือก 6[b] 4 2
เยอรมนี 2003 6[c] 6 0
อิตาลีเซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 6 1 5
รัสเซีย 2007 8 4 4
ตุรกี 2009 รอบแรก อันดับที่ 14 3 0 3 2 9 รายชื่อ 6 5 1
ออสเตรียเช็กเกีย 2011 รอบเพลย์ออฟ อันดับที่ 12 4 1 3 3 9 รายชื่อ 8 6 2
เดนมาร์กโปแลนด์ 2013 ไม่ผ่านการคัดเลือก 6 2 4
บัลแกเรียอิตาลี 2015 รอบเพลย์ออฟ อันดับที่ 11 4 1 3 6 9 รายชื่อ 8 6 2
โปแลนด์ 2017 รอบแรก อันดับที่ 13 3 0 3 4 9 รายชื่อ 8 5 3
ฝรั่งเศสสโลวีเนียเบลเยียมเนเธอร์แลนด์ 2019 รอบแรก อันดับที่ 24 5 0 5 2 15 รายชื่อ 4 4 0
โปแลนด์เช็กเกียเอสโตเนียฟินแลนด์ 2021 รอบแรก อันดับที่ 21 5 1 4 6 14 รายชื่อ ประเทศเจ้าภาพ
อิตาลีมาซิโดเนียเหนือบัลแกเรียอิสราเอล 2023 TBD 4 2 2
รวม 6/32 0 ครั้ง 24 3 21 23 65 72 46 26
  1. นัดที่พบกับยูเครน
  2. อันดับ 2 ในกลุ่ม 1 ของประเภทบี ไม่ได้เลื่อนชั้น
  3. อันดับที่ 1 ในกลุ่ม 2 ของประเภทบี ได้เลื่อนชั้นเป็นประเภทเอ

วอลเลย์บอลยูโรเปียนลีก[แก้]

ยูโรเปียนลีก
ปี รอบ อันดับที่ แข่ง ชนะ แพ้ เชตชนะ เชตแพ้ รายชื่อ
เช็กเกีย 2004 ไม่ได้เข้าร่วม
รัสเซีย 2005 รอบคัดเลือก อันดับที่ 8 12 2 10 13 33 รายชื่อ
ตุรกี 2006 รอบคัดเลือก อันดับที่ 8 12 1 11 7 34 รายชื่อ
20072014 Did not enter
โปแลนด์ 2015 รอบ 4 ทีมสุดท้าย อันดับที่ 4 12 10 2 30 13 รายชื่อ
บัลแกเรีย 2016 รอบ 4 ทีมสุดท้าย ชนะเลิศ 8 8 0 24 7 รายชื่อ
เดนมาร์ก 2017 Did not enter
เช็กเกีย 2018 รอบ 4 ทีมสุดท้าย ชนะเลิศ 8 7 1 21 6 รายชื่อ
เอสโตเนีย 2019 รอบ 4 ทีมสุดท้าย อันดับที่ 4 8 2 6 9 22 รายชื่อ
เบลเยียม 2020 ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
เบลเยียม 2021 รอบ 4 ทีมสุดท้าย อันดับที่ 3 8 7 1 23 7 รายชื่อ
โครเอเชีย 2022 รอบคัดเลือก อันดับที่ 5 6 4 2 13 10 รายชื่อ
โครเอเชีย 2023 รอบคัดเลือก อันดับที่ 8 6 3 3 11 11 รายชื่อ
รวม 9/19 2 ครั้ง 80 44 36 151 143

อ้างอิง[แก้]

  1. "Video: meenuta Eesti – Serbia tõelist põnevuslahingut eelmisel EMil". Postimees Sport (ภาษาเอสโตเนีย). 26 August 2017. สืบค้นเมื่อ 1 August 2023.
  2. "Eesti võrkpallikoondis võitis Euroopa liiga ja pääses Maailmaliigasse". sport.err.ee/ (ภาษาเอสโตเนีย). 2 July 2016. สืบค้นเมื่อ 1 August 2023.
  3. "Eesti võrkpallikoondis võitis Euroopa Kuldliiga". sport.err.ee/ (ภาษาเอสโตเนีย). 15 June 2018. สืบค้นเมื่อ 1 August 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]