ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอิหร่าน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิหร่าน
สมาคมไออาร์ไอวีเอฟ
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย
หัวหน้าผู้ฝึกสอนประเทศเซอร์เบีย สลอบอดัน คอวัช
อันดับเอฟไอวีบี10 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน0
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน5 (ครั้งแรกเมื่อ 1970)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 6 (2014)
iranvolleyball.com
วอลเลย์บอลชายทีมชาติอิหร่าน
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 เตหะราน ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 ดูไบ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2019 เตหะราน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2009 มะนิลา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 เทียนจิน ทีม
วอลเลย์บอลเอเชียเกมส์
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1958 โตเกียว ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2002 ปูซาน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2010 กวางโจว ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1966 กรุงเทพฯ ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2008 นครราชสีมา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2010 อูร์เมีย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2012 หวิญเอียน ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติอิหร่าน (เปอร์เซีย: تیم ملی والیبال مردان ایران) เป็นตัวแทนของประเทศอิหร่านทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (ไออาร์ไอวีเอฟ) และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

ณ เดือนมิถุนายน ค.ศ. 2021 ทีมชาติอิหร่านถือเป็นทีมที่ดีที่สุดในทวีปเอเชีย โดยรั้งอันดับที่ 7 ของการจัดอันดับโลกเอฟไอวีบี[1]

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก ตบ บล็อก สโมสรฤดูกาล 2021
2 มีลอด เอบอดีพูร์ 17 ตุลาคม 1993 1.96 m (6 ft 5 in) 78 kg (172 lb) 350 ซm (140 in) 310 ซm (120 in) ประเทศโปแลนด์ แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ
3 เรซอ แอเบดีนี 19 พฤษภาคม 1991 2.03 m (6 ft 8 in) 93 kg (205 lb) 354 ซm (139 in) 348 ซm (137 in) ประเทศอิหร่าน แชฮ์ดอบ แยซด์
4 แซอีด แมรูฟ (C) 20 ตุลาคม 1985 1.89 m (6 ft 2 in) 81 kg (179 lb) 331 ซm (130 in) 311 ซm (122 in) ประเทศจีน ปักกิ่ง บีเอไอซี มอเตอร์
6 โมฮัมมัด มูแซวี 22 สิงหาคม 1987 2.00 m (6 ft 7 in) 85 kg (187 lb) 362 ซm (143 in) 344 ซm (135 in) ประเทศตุรกี เฟแนร์บาห์แช
7 พูร์ยอ แฟอซี 12 มกราคม 1993 1.95 m (6 ft 5 in) 92 kg (203 lb) 335 ซm (132 in) 325 ซm (128 in) ประเทศอิหร่าน ชอฮ์รดอรี อูรูมีเย
8 โมฮัมมัด เรซอ ฮอซแรตพูร์ 31 มีนาคม 1999 1.87 m (6 ft 2 in) 87 kg (192 lb) 300 ซm (120 in) 290 ซm (110 in) ประเทศอิหร่าน ชอฮ์รดอรี อูรูมีเย
9 แมซูด โกลอมี 2 เมษายน 1991 2.00 m (6 ft 7 in) 95 kg (209 lb) 289 ซm (114 in) 275 ซm (108 in) ประเทศอิหร่าน เซพอแฮน
10 แอมีร์ แกฟูร์ 6 มิถุนายน 1991 2.02 m (6 ft 8 in) 90 kg (200 lb) 354 ซm (139 in) 334 ซm (131 in) ประเทศอิหร่าน เซพอแฮน
11 ซอเบร์ กอเซมี 24 ธันวาคม 1998 2.05 m (6 ft 9 in) 87 kg (192 lb) 340 ซm (130 in) 325 ซm (128 in) ประเทศอิหร่าน ฟูลอด ซีร์ยอน
12 มอร์เตซอ ชอรีฟี 27 พฤษภาคม 1999 1.93 m (6 ft 4 in) 83 kg (183 lb) 340 ซm (130 in) 320 ซm (130 in) ประเทศอิหร่าน ชอฮ์รดอรี อูรูมีเย
14 โมฮัมมัด แยวอด แมแนวีเนยอด 27 พฤศจิกายน 1995 1.98 m (6 ft 6 in) 90 kg (200 lb) 365 ซm (144 in) 328 ซm (129 in) ประเทศฝรั่งเศส สตาดปัวเตแว็งปัวตีเย
15 แอลี แอสแกร์ โมแจร์แรด 30 ตุลาคม 1997 2.05 m (6 ft 9 in) 90 kg (200 lb) 330 ซm (130 in) 310 ซm (120 in) ประเทศอิหร่าน ชอฮ์รดอรี แวรอมีน
16 แอลี แชฟีอี 21 กันยายน 1991 1.98 m (6 ft 6 in) 80 kg (180 lb) 348 ซm (137 in) 345 ซm (136 in) ประเทศอิหร่าน ซอยพอ
17 เมย์ซอม ซอเลฮี 17 พฤศจิกายน 1998 1.98 m (6 ft 6 in) 89 kg (196 lb) 345 ซm (136 in) 330 ซm (130 in) ประเทศโปแลนด์ อินดึกปอล อาแซตแอส ออลชตึน
18 โมฮัมมัด ตอเฮร์ วอดี 10 พฤศจิกายน 1989 1.94 m (6 ft 4 in) 85 kg (187 lb) 329 ซm (130 in) 315 ซm (124 in) ประเทศอิหร่าน ชอฮ์รดอรี อูรูมีเย
21 ออร์มอน ซอเลฮี 29 ตุลาคม 1992 1.80 m (5 ft 11 in) 81 kg (179 lb) 295 ซm (116 in) 280 ซm (110 in) ประเทศอิหร่าน ฟูลอด ซีร์ยอน
22 แอมีร์ โฮเซย์น เอสแฟนดีออร์ 24 มกราคม 1999 2.09 m (6 ft 10 in) 119 kg (262 lb) 330 ซm (130 in) 310 ซm (120 in) ประเทศเบลเยียม กรีนยาร์ด มาไซก์
23 บอร์ดียอน ซอดอต 12 สิงหาคม 2002 2.05 m (6 ft 9 in) 87 kg (192 lb) 355 ซm (140 in) 328 ซm (129 in) ประเทศเกาหลีใต้ ซูว็อนเคอีพีซีโอวิซตอร์ม

รายการแข่งขัน

[แก้]

กีฬาโอลิมปิก

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศญี่ปุ่น 1964 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
หรือ
ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศเม็กซิโก 1968
ประเทศเยอรมนีตะวันตก 1972
ประเทศแคนาดา 1976
สหภาพโซเวียต 1980
สหรัฐอเมริกา 1984
ประเทศเกาหลีใต้ 1988
ประเทศสเปน 1992
สหรัฐอเมริกา 1996
ประเทศออสเตรเลีย 2000
ประเทศกรีซ 2004
ประเทศจีน 2008
สหราชอาณาจักร 2012
ประเทศบราซิล 2016 อันดับที่ 5 6 2 4 8 12
ประเทศญี่ปุ่น 2020 ผ่านการคัดเลือก
ประเทศฝรั่งเศส 2024 การแข่งขันในอนาคต
สหรัฐอเมริกา 2028
รวม 2/15 6 2 4 8 12

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศเชโกสโลวาเกีย 1949 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
สหภาพโซเวียต 1952
ประเทศฝรั่งเศส 1956
ประเทศบราซิล 1960
สหภาพโซเวียต 1962
ประเทศเชโกสโลวาเกีย 1966
ประเทศบัลแกเรีย 1970 อันดับที่ 21 11 4 7 16 24
ประเทศเม็กซิโก 1974 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศอิตาลี 1978
ประเทศอาร์เจนตินา 1982 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศฝรั่งเศส 1986 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศบราซิล 1990 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศกรีซ 1994
ประเทศญี่ปุ่น 1998 อันดับที่ 19 3 0 3 0 9
ประเทศอาร์เจนตินา 2002 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศญี่ปุ่น 2006 อันดับที่ 21 5 0 5 2 15
ประเทศอิตาลี 2010 อันดับที่ 19 3 1 2 5 7
ประเทศโปแลนด์ 2014 อันดับที่ 6 12 7 5 26 21
ประเทศอิตาลี ประเทศบัลแกเรีย 2018 อันดับที่ 13 8 4 4 14 16
ประเทศรัสเซีย 2022 การแข่งขันในอนาคต
รวม 6/19 42 16 26 63 92

วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศโปแลนด์ 1965 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศเยอรมนีตะวันออก 1969
ประเทศญี่ปุ่น 1977
ประเทศญี่ปุ่น 1981
ประเทศญี่ปุ่น 1985
ประเทศญี่ปุ่น 1989 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศญี่ปุ่น 1991 อันดับที่ 11 8 1 7 5 23
ประเทศญี่ปุ่น 1995 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศญี่ปุ่น 1999
ประเทศญี่ปุ่น 2003
ประเทศญี่ปุ่น 2007
ประเทศญี่ปุ่น 2011 อันดับที่ 9 11 5 6 16 25
ประเทศญี่ปุ่น 2015 อันดับที่ 8 11 4 7 16 24
ประเทศญี่ปุ่น 2019 อันดับที่ 8 11 4 7 19 25
รวม 4/14 41 14 27 56 97

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศญี่ปุ่น 1993 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศญี่ปุ่น 1997
ประเทศญี่ปุ่น 2001
ประเทศญี่ปุ่น 2005
ประเทศญี่ปุ่น 2009 อันดับที่ 5 5 1 4 8 14
ประเทศญี่ปุ่น 2013 อันดับที่ 4 5 3 2 10 10
ประเทศญี่ปุ่น 2017 อันดับที่ 3 5 4 1 12 10
รวม 3/7 15 8 7 30 34

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศญี่ปุ่น 1990 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศอิตาลี 1991
ประเทศอิตาลี 1992
ประเทศบราซิล 1993
ประเทศอิตาลี 1994
ประเทศบราซิล 1995
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1996
ประเทศรัสเซีย 1997
ประเทศอิตาลี 1998
ประเทศอาร์เจนตินา 1999
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 2000
ประเทศโปแลนด์ 2001
ประเทศบราซิล 2002
ประเทศสเปน 2003
ประเทศอิตาลี 2004
ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005
ประเทศรัสเซีย 2006
ประเทศโปแลนด์ 2007
ประเทศบราซิล 2008
ประเทศเซอร์เบีย 2009
ประเทศอาร์เจนตินา 2010 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศโปแลนด์ 2011
ประเทศบัลแกเรีย 2012
ประเทศอาร์เจนตินา 2013 อันดับที่ 9 10 5 5 20 21
ประเทศอิตาลี 2014 อันดับที่ 4 16 7 9 28 32
ประเทศบราซิล 2015 อันดับที่ 7 12 6 6 25 21
ประเทศโปแลนด์ 2016 อันดับที่ 8 9 4 5 15 22
ประเทศบราซิล 2017 อันดับที่ 11 9 3 6 11 23
รวม 5/28 56 25 31 99 119

วอลเลย์บอลเนชันส์ลีก

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศฝรั่งเศส 2018 อันดับที่ 10 15 7 8 29 30
สหรัฐอเมริกา 2019 อันดับที่ 5 2 2 0 6 1
ประเทศอิตาลี 2021 กำลังแข่งขัน 9 5 4 20 14
รวม 3/3 41 24 17 90 65

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศออสเตรเลีย 1975 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศบาห์เรน 1979 อันดับที่ 6 6 3 3 12 10
ประเทศญี่ปุ่น 1983 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศคูเวต 1987 อันดับที่ 10 5 2 3 7 10
ประเทศเกาหลีใต้ 1989 อันดับที่ 8 8 3 5 15 13
ประเทศออสเตรเลีย 1991 อันดับที่ 7 7 3 4 11 12
ประเทศไทย 1993 อันดับที่ 5 6 3 3 9 10
ประเทศเกาหลีใต้ 1995 อันดับที่ 4 5 2 3 6 11
ประเทศกาตาร์ 1997 อันดับที่ 6 5 2 3 8 11
ประเทศอิหร่าน 1999 อันดับที่ 5 6 4 2 13 10
ประเทศเกาหลีใต้ 2001 อันดับที่ 5 6 4 2 14 10
ประเทศจีน 2003 อันดับที่ 3 7 5 2 16 12
ประเทศไทย 2005 อันดับที่ 6 5 3 2 12 10
ประเทศอินโดนีเซีย 2007 อันดับที่ 5 9 5 4 17 18
ประเทศฟิลิปปินส์ 2009 รองชนะเลิศ 8 7 1 22 10
ประเทศอิหร่าน 2011 ชนะเลิศ 8 8 0 24 2
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2013 ชนะเลิศ 7 7 0 21 1
ประเทศอิหร่าน 2015 รองชนะเลิศ (ชุดบี) 8 6 2 20 9
ประเทศอินโดนีเซีย 2017 อันดับที่ 5 (ชุดยู 23) 8 6 2 20 10
ประเทศอิหร่าน 2019 ชนะเลิศ 8 7 1 22 4
ประเทศญี่ปุ่น 2021 ผ่านการคัดเลือก
รวม 18/20 122 80 42 269 173

เอเชียนเกมส์

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศญี่ปุ่น 1958 รองชนะเลิศ 4 3 1 9 5
ประเทศอินโดนีเซีย 1962 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศไทย 1966 อันดับที่ 3 8 6 2 19 11
ประเทศไทย 1970 อันดับที่ 5 7 3 4
ประเทศอิหร่าน 1974 อันดับที่ 4 5 2 3 7 9
ประเทศไทย 1978 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศอินเดีย 1982
ประเทศเกาหลีใต้ 1986
ประเทศจีน 1990
ประเทศญี่ปุ่น 1994 อันดับที่ 5 9 5 4 16 16
ประเทศไทย 1998 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศเกาหลีใต้ 2002 รองชนะเลิศ 6 4 2 12 10
ประเทศกาตาร์ 2006 อันดับที่ 6 3 1 2 6 7
ประเทศจีน 2010 รองชนะเลิศ 9 8 1 25 4
ประเทศเกาหลีใต้ 2014 ชนะเลิศ 8 8 0 24 2
ประเทศอินโดนีเซีย 2018 ชนะเลิศ 5 5 0 15 0
ประเทศจีน 2022 การแข่งขันในอนาคต
ประเทศญี่ปุ่น 2026
ประเทศกาตาร์ 2030
ประเทศซาอุดีอาระเบีย 2034
รวม 10/16 64 44 20 141 82

วอลเลย์บอลเอวีซีคัพ

[แก้]
ปี อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศไทย 2008 ชนะเลิศ 6 5 1 16 8
ประเทศอิหร่าน 2010 ชนะเลิศ 6 6 0 18 6
ประเทศเวียดนาม 2012 รองชนะเลิศ (ชุดบี) 6 5 1 16 7
ประเทศคาซัคสถาน 2014 อันดับที่ 4 (ชุดบี) 6 4 2 14 9
ประเทศไทย 2016 ชนะเลิศ (ชุดบี) 6 6 0 18 5
จีนไทเป 2018 รองชนะเลิศ (ชุดบี) 5 4 1 14 5
รวม 6/6 35 30 5 96 40

การแข่งขันอื่นๆ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "FIVB Senior World Ranking - Men". FIVB website. FIVB. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]