ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครือจักรภพแห่งประชาชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 90: บรรทัด 90:
'''เครือจักรภพแห่งประชาชาติ''' ({{lang-en|Commonwealth of Nations}}) ชื่อเดิมคือ '''เครือจักรภพบริเตน''' (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า '''เครือจักรภพ''' เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 53 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของ[[จักรวรรดิบริเตน]]<ref>{{cite web|url=http://thecommonwealth.org/about-us |title=About us |publisher=The Commonwealth |accessdate=2013-10-03}}</ref> เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ<ref name="the commonwealth">{{cite web|url=http://www.thecommonwealth.org/Internal/191086/191247/the_commonwealth|title=The Commonwealth|publisher=The Commonwealth|accessdate=30 June 2013}}{{dead link|date=กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>
'''เครือจักรภพแห่งประชาชาติ''' ({{lang-en|Commonwealth of Nations}}) ชื่อเดิมคือ '''เครือจักรภพบริเตน''' (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า '''เครือจักรภพ''' เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 53 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของ[[จักรวรรดิบริเตน]]<ref>{{cite web|url=http://thecommonwealth.org/about-us |title=About us |publisher=The Commonwealth |accessdate=2013-10-03}}</ref> เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ<ref name="the commonwealth">{{cite web|url=http://www.thecommonwealth.org/Internal/191086/191247/the_commonwealth|title=The Commonwealth|publisher=The Commonwealth|accessdate=30 June 2013}}{{dead link|date=กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>


ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่างๆของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมี[[ปฏิญญาลอนดอน]]ใน ค.ศ. 1949 ปฏิญญาได้กำหนดรายชื่อของชาติสมาชิกไว้ และกำหนดให้ชาติสมาชิกมีความเป็น "อิสระและเท่าเทียมกัน"<ref>{{cite web|url=http://www.thecommonwealth.org/document/181889/34293/35468/214257/londondeclaration.htm|title=The London Declaration|publisher=The Commonwealth|accessdate=4 July 2013}}{{dead link|date=กุมภาพันธ์ 2560}}</ref> โดยมี[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] ซึ่งเป็นประมุขของเครือจักรภพเป็นสัญลักษณ์ขององค์กร สมเด็จพระราชินีนาถฯยังทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของ 16 ชาติสมาชิกเครือจักรภพที่มีสถานะเป็น ''[[ราชอาณาจักรเครือจักรภพ]]'' ส่วนอีก 32 ชาติสมาชิกมีสถานะเป็น[[สาธารณรัฐเครือจักรภพ|สาธารณรัฐ]] และอีก 5 ชาติสมาชิกมีราชวงศ์เป็นของตนเอง
ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่าง ๆ ของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมี[[ปฏิญญาลอนดอน]]ใน ค.ศ. 1949 ปฏิญญาได้กำหนดรายชื่อของชาติสมาชิกไว้ และกำหนดให้ชาติสมาชิกมีความเป็น "อิสระและเท่าเทียมกัน"<ref>{{cite web|url=http://www.thecommonwealth.org/document/181889/34293/35468/214257/londondeclaration.htm|title=The London Declaration|publisher=The Commonwealth|accessdate=4 July 2013}}{{dead link|date=กุมภาพันธ์ 2560}}</ref> โดยมี[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] ซึ่งเป็นประมุขของเครือจักรภพเป็นสัญลักษณ์ขององค์กร สมเด็จพระราชินีนาถฯยังทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของ 16 ชาติสมาชิกเครือจักรภพที่มีสถานะเป็น ''[[ราชอาณาจักรเครือจักรภพ]]'' ส่วนอีก 32 ชาติสมาชิกมีสถานะเป็น[[สาธารณรัฐเครือจักรภพ|สาธารณรัฐ]] และอีก 5 ชาติสมาชิกมีราชวงศ์เป็นของตนเอง


ชาติสมาชิกต่างไม่มีซึ่งข้อผูกพันทางกฎหมายใดๆระหว่างกัน มีเพียงหลักประชาธิปไตย, [[สิทธิมนุษยชน]], [[เสรีภาพในการพูด]] และ[[หลักนิติธรรม|นิติธรรม]] เท่านั้น<ref name="the commonwealth"/> ที่ทุกชาติสมาชิกต่างได้ลงนามไว้ในกฎบัตรเครือจักรภพว่าจะยึดถือปฏิบัติ<ref name=charter>{{cite web|url=http://www.thecommonwealth.org/document/181889/34293/35468/252053/charter.htm|title=Charter of the Commonwealth|publisher=The Commonwealth|accessdate=30 June 2013}}{{dead link|date=กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>
ชาติสมาชิกต่างไม่มีซึ่งข้อผูกพันทางกฎหมายใด ๆระหว่างกัน มีเพียงหลักประชาธิปไตย, [[สิทธิมนุษยชน]], [[เสรีภาพในการพูด]] และ[[หลักนิติธรรม|นิติธรรม]] เท่านั้น<ref name="the commonwealth"/> ที่ทุกชาติสมาชิกต่างได้ลงนามไว้ในกฎบัตรเครือจักรภพว่าจะยึดถือปฏิบัติ<ref name=charter>{{cite web|url=http://www.thecommonwealth.org/document/181889/34293/35468/252053/charter.htm|title=Charter of the Commonwealth|publisher=The Commonwealth|accessdate=30 June 2013}}{{dead link|date=กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>


== สมาชิก ==
== สมาชิก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:51, 19 มีนาคม 2562

ดูความหมายอื่นๆ ของ เครือจักรภพ
เครือจักรภพแห่งประชาชาติ
ธงชาติ
ชาติสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
ชาติสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
สำนักงานใหญ่ตำหนักมาร์ลบะระ
กรุงลอนดอน
ภาษาทางการอังกฤษ
สมาชิก
53 ประเทศ
ผู้นำ
• ประมุข
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2
• เลขาธิการ
แพทริเซีย สกอตแลนด์
ก่อตั้ง
18 พฤศจิกายน 1926
11 ธันวาคม 1931
28 เมษายน 1949
พื้นที่
• รวม
29,958,050 ตารางกิโลเมตร (11,566,870 ตารางไมล์)
ประชากร
• 2013 ประมาณ
2,328,000,000 คน
75 ต่อตารางกิโลเมตร (194.2 ต่อตารางไมล์)
เว็บไซต์
thecommonwealth.org

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ (อังกฤษ: Commonwealth of Nations) ชื่อเดิมคือ เครือจักรภพบริเตน (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เครือจักรภพ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 53 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของจักรวรรดิบริเตน[1] เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ[2]

ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่าง ๆ ของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมีปฏิญญาลอนดอนใน ค.ศ. 1949 ปฏิญญาได้กำหนดรายชื่อของชาติสมาชิกไว้ และกำหนดให้ชาติสมาชิกมีความเป็น "อิสระและเท่าเทียมกัน"[3] โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ซึ่งเป็นประมุขของเครือจักรภพเป็นสัญลักษณ์ขององค์กร สมเด็จพระราชินีนาถฯยังทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของ 16 ชาติสมาชิกเครือจักรภพที่มีสถานะเป็น ราชอาณาจักรเครือจักรภพ ส่วนอีก 32 ชาติสมาชิกมีสถานะเป็นสาธารณรัฐ และอีก 5 ชาติสมาชิกมีราชวงศ์เป็นของตนเอง

ชาติสมาชิกต่างไม่มีซึ่งข้อผูกพันทางกฎหมายใด ๆระหว่างกัน มีเพียงหลักประชาธิปไตย, สิทธิมนุษยชน, เสรีภาพในการพูด และนิติธรรม เท่านั้น[2] ที่ทุกชาติสมาชิกต่างได้ลงนามไว้ในกฎบัตรเครือจักรภพว่าจะยึดถือปฏิบัติ[4]

สมาชิก

อ้างอิง

  1. "About us". The Commonwealth. สืบค้นเมื่อ 2013-10-03.
  2. 2.0 2.1 "The Commonwealth". The Commonwealth. สืบค้นเมื่อ 30 June 2013.[ลิงก์เสีย]
  3. "The London Declaration". The Commonwealth. สืบค้นเมื่อ 4 July 2013.[ลิงก์เสีย]
  4. "Charter of the Commonwealth". The Commonwealth. สืบค้นเมื่อ 30 June 2013.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:องศ์การมอบสิ่งที่ทำให้เราสบาย