ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
substituteTemplate
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
}}
}}


'''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' ในรัชกาลที่๕ หรือพระนามเดิม '''หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์''' เป็นพระธิดาพระองค์รองใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี]] อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ [[๒๖ มกราคม]] [[พ.ศ. 2397|พ.ศ. ๒๓๙๗]] <ref>http://theyoung.net/tamneap_vip/49_queen/49_37.htm</ref><ref>{{user:2T/ref/พระภรรยาเจ้าและสมเด็จเจ้าฟ้าในรัชกาลที่ 5}}</ref>
'''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' ในรัชกาลที่๕ หรือพระนามเดิม '''หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์''' เป็นพระธิดาพระองค์รองใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี]] อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ [[๒๖ มกราคม]] [[พ.ศ. 2397|พ.ศ. ๒๓๙๗]] <ref>http://theyoung.net/tamneap_vip/49_queen/49_37.htm</ref><ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=จิรวัฒน์ อุตตมะกุล
|ชื่อหนังสือ=พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพ
|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์มติชน
|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2548
|ISBN=974-322-964-7
|หน้า=หน้าที่
|จำนวนหน้า=398
}}
</ref>


หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมี[[กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ]] (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล ทรงมีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ
หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมี[[กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ]] (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล ทรงมีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:41, 14 สิงหาคม 2553

แม่แบบ:กล่องข้อมูล เจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ในรัชกาลที่๕ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์รองในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๗ [1][2]

หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมีกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล ทรงมีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ

หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ ทรงรับราชการฝ่ายในเป็นพระมเหสีทรงอิสริยศักดิ์เป็น พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ทรงมีพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ

หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ทรงเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จกรมพระยาสุดารัตนราชประยูรมาก ถึงกับทรงตั้งพระทัยจะให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสีทีเดียว แต่ว่าหม่อมเจ้าเสาวภาคยนารีรัตนมีพระพลานามัยไม่สู้จะสมบูรณ์นัก ประสูติพระราชธิดาพระองค์ ๑ แล้วก็ประชวรกระเสาะกระแสะเรื่อยมา จนกระทั่งสิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ และได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศหลังจากสิ้นชีพิตักษัยไปแล้วนั้นให้ขึ้นเป็นพระองค์เจ้า ออกพระนามว่า พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์[3]

ในปีนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสูญเสียพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาถึง ๓ พระองค์ ในปีเดียวกัน คือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง [4] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์ราชานุสรณ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ เพื่อระลึกถึงพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาที่สิ้นพระชนม์ในปีเดียวกัน อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ทำด้วยหินอ่อนแกะสลักพระรูปเหมือนทั้ง 4 พระองค์ ตั้งอยู่ใกล้กับอนุสาวรีย์พระนางเรือล่ม ที่พระราชวังบางปะอิน

ราชตระกูล

พระราชตระกูลในสามรุ่นของพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
พระชนก:
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์
กรมหมื่นภูมินทรภักดี
พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระศรีสุลาไลย
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
เจ้าจอมมารดาเอมน้อย
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
ไม่มีข้อมูล
พระชนนี:
เจ้าจอมมารดาจีน
พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล

อ้างอิง

  1. http://theyoung.net/tamneap_vip/49_queen/49_37.htm
  2. จิรวัฒน์ อุตตมะกุล. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ ๕. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2548. 398 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-322-964-7
  3. ราชกิจจานุเบกษา, คำประกาศตั้งพระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคน่รีรัตน ขึ้นเป็น พระองค์เจ้า มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัต ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ เสมอเจ้าต่างกรมในพระบรมมหาราชวังตามพระอรรคชายาเธอ, เล่ม ๔, ตอน ๓๑, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๑๘๘๗, หน้า ๒๕๑
  4. http://www.palaces.thai.net/new/bp/memo.htm#Thai